Page 30 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       20







                                     6.2.2 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล พื้นที่ด าเนินการ ในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน
                       ลุ่มน้ าห้วยน้ าแหง จังหวัดน่าน
                                          1) การเตรียมข๎อมูลในส านักงาน
                                                (1) รวบรวมข๎อมูลทั่วไป เชํน ที่ตั้งและอาณาเขต แผนที่ภูมิประเทศ

                       แผนที่ธรณีวิทยา ภาพถํายออร์โธสี (มาตราสํวน 1:4,000) แบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข (DEM) เส๎นชั้น
                       ความสูง (contour) เป็นต๎น
                                                (2) วิเคราะห์ข๎อมูล (จากการรวบรวมข๎อมูลเบื้องต๎น) เพื่อใช๎วิเคราะห์
                       พื้นที่และความแปรปรวนของทรัพยากรดิน สภาพการใช๎ที่ดิน เพื่อเป็นแนวทางก าหนดต๎นรํางของ

                       ขอบเขตดิน และหลุมเจาะดินเพื่อตรวจสอบดินที่เป็นตัวแทน
                                          2) การส ารวจดินภาคสนาม
                                                (1) ส ารวจและตรวจสอบดินตามหลุมเจาะที่ก าหนดไว๎ โดยใช๎พลั่วเปิด
                       หน๎าดินลึกประมาณ 1 ลูกบาศก์ฟุต แล๎วใช๎สวํานเจาะดิน ลึกอยํางน๎อย 180 เซนติเมตร หรือตื้นกวํา

                       หากพบชั้นขัดขวาง เชํน หินพื้น ชั้นดาน ชั้นดินแนํนหรือชั้นศิลาแลง เพื่อวินิจฉัยสมบัติของดินแตํละ
                       ชั้นตามการก าเนิดดิน เชํน สีดิน เนื้อดิน ความลึกของดิน พีเอชของดิน เป็นต๎น รวมทั้งศึกษา
                       สภาพแวดล๎อมในพื้นที่นั้นๆ โดยเฉพาะปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอกระบวนการทางดิน เชํน ลักษณะทาง

                       ธรณีวิทยา วัตถุต๎นก าเนิดดิน ภูมิสัณฐาน การกรํอนของดิน พืชพรรณธรรมชาติและการใช๎ประโยชน์
                       ที่ดิน เป็นต๎น
                                                (2) บันทึกข๎อมูลการตรวจสอบดินภาคสนาม จ าแนกดินตามระบบ
                       อนุกรมวิธานดินของ USDA (United States Department of Agriculture) ตามรายละเอียดของ
                       หนังสือ Keys to Soil Taxonomy (Soil Survey Staff, 2014) และอ๎างอิงจากหนังสือการก าหนด

                       ลักษณะของชุดดินที่จัดตั้งในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย จ าแนกตามระบบ
                       อนุกรมวิธานดิน 2546 (อนิรุทธ์ และคณะ, 2547) เพื่อก าหนดหนํวยแผนที่ดิน โดยจ าแนกดินถึง
                       ระดับชุดดิน (soil series) หรือดินคล๎าย (soil variant) รํวมกับประเภทของดินที่พบ ได๎แกํ ประเภท

                       เนื้อดินบน (texture phase) ความลาดชัน (slope phases) ชั้นความลึก (depth) ชั้นของการกรํอน
                       (degree of erosion classes) พร๎อมทั้งปรับแก๎ขอบเขตดินให๎สอดคล๎องกับพื้นที่จริง
                                                (3) ส ารวจสภาพการใช๎ที่ดิน พร๎อมทั้งปรับแก๎ไขขอบเขตสภาพการใช๎
                       ที่ดินลงบนภาพออร์โธสีให๎ถูกต๎อง สอดคล๎องกับสภาพพื้นที่จริง

                                          3) การจัดท าแผนที่และรายงานการส ารวจดิน
                                                (1) ถํายทอดขอบเขตดินและหนํวยแผนที่จากการส ารวจ ด๎ว ย
                       โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ลงบนภาพถํายออร์โธสีที่ใช๎เป็นแผนที่พื้นฐาน เพื่อจัดท าเป็นแผน
                       ที่ดินต๎นฉบับ

                                                (2) ถํายทอดขอบเขตสภาพการใช๎ที่ดินจากการส ารวจ ด๎วยโปรแกรม
                       ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ลงบนภาพถํายออร์โธสีที่ใช๎เป็นแผนที่พื้นฐาน เพื่อจัดท าเป็นแผนที่สภาพ
                       การใช๎ที่ดินต๎นฉบับ
                                                (3) วิเคราะห์ข๎อมูลเพื่อก าหนดขอบเขตการใช๎ที่ดินตามศักยภาพของ

                       พื้นที่ ความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ และความเหมาะสมของดินทางด๎านปฐพีกลศาสตร์
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35