Page 64 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 64

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          47


                                      โดยทั้งสองกลุํมชุดดินไมํสามารถแยกขอบเขตออกจากกันได๎
                                      ปัญหาการใช๎ประโยชน์ที่ดิน : ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า เมื่อหน๎าดินแห๎ง ดินจะ

                     แข็ง ท้าให๎ไถพรวนยาก ดินงํายตํอการถูกชะล๎างพังทลายสูญเสียดิน และขาดแคลนน้้าในระยะที่ฝนทิ้งชํวง
                     นาน
                                      หนํวยรวมของกลุํมชุดดินที่ 7 และกลุํมชุดดินที่ 55 พบ 1 หนํวยแผนที่ คือ

                                      หนํวยแผนที่ 7/55  :  หนํวยรวมของกลุํมชุดดินที่ 7 มีความลาดชัน 0-2  เปอร์เซ็นต์

                     และกลุํมชุดดินที่ 55 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ (สัดสํวน 50:50)  มีเนื้อที่ 120,380 ไรํ หรือร๎อยละ
                     7.30 ของพื้นที่ลุํมน้้าสาขา
                                   26) หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 17 และกลุ่มชุดดินที่ 25

                                      กลุํมชุดดินที่ 17 เป็นกลุํมชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินรํวนละเอียด ดินลึกมาก เกิด
                     จากการทับถมของตะกอนล้าน้้าในพื้นที่ราบลุํมหรือตะพักล้าน้้าระดับต่้า มีการพัฒนาการของดินมานาน
                     สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคํอนข๎างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของดินเลวถึง
                     คํอนข๎างเลว มีน้้าทํวมขังในฤดูฝน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด ความอุดมสมบูรณ์ของดินตาม

                     ธรรมชาติต่้า
                                      สํวนกลุํมชุดดินที่ 25 เป็นกลุํมชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินรํวนหรือดินเหนียวปน
                     ชิ้นสํวนเนื้อหยาบ เชํนลูกรังหรือก๎อนกรวดปริมาณเทํากับหรือมากกวําร๎อยละ 35 โดยปริมาตร ภายใน
                     ความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ดินตื้นหรือตื้นมาก เกิดจากการทับถมของตะกอนล้าน้้าหรือตะกอนล้าน้้า

                     ทับถมอยูํบนชั้นหินผุ สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคํอนข๎างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ การระบาย
                     น้้าของดินคํอนข๎างเลว มีน้้าทํวมขังในฤดูฝน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                     ตามธรรมชาติต่้า

                                      โดยทั้งสองกลุํมชุดดินไมํสามารถแยกขอบเขตออกจากกันได๎
                                      ปัญหาการใช๎ประโยชน์ที่ดิน : ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่้า ดินตื้นถึงตื้น
                     มาก ดินเป็นกรดจัดมาก ขาดแคลนน้้าในระยะที่ฝนทิ้งชํวงนาน
                                      หนํวยรวมของกลุํมชุดดินที่ 17 และกลุํมชุดดินที่ 25 พบ1 หนํวยแผนที่ คือ
                                      หนํวยแผนที่ 17/25 : หนํวยรวมของกลุํมชุดดินที่ 17 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์และ

                     กลุํมชุดดินที่ 25 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ (สัดสํวน 50 : 50) มีเนื้อที่ 8,547 ไรํ หรือร๎อยละ 0.52 ของ
                     พื้นที่ลุํมน้้าสาขา
                                   27) หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 17 และกลุ่มชุดดินที่ 35

                                      กลุํมชุดดินที่ 17 เป็นกลุํมชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินรํวนละเอียด ดินลึกมาก เกิด
                     จากการทับถมของตะกอนล้าน้้าในพื้นที่ราบลุํมหรือตะพักล้าน้้าระดับต่้า มีการพัฒนาการของดินมานาน
                     สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคํอนข๎างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของดินเลวถึง
                     คํอนข๎างเลว มีน้้าทํวมขังในฤดูฝน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด ความอุดมสมบูรณ์ของดินตาม

                     ธรรมชาติต่้า
                                      สํวนกลุํมชุดดินที่ 35 เป็นกลุํมชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินรํวนละเอียด ดินลึกมาก
                     เกิดจากการทับถมของตะกอนล้าน้้าหรือจากการสลายตัวผุผังของหินเนื้อหยาบ เชํน หินทราย หินแกรนิต
                     หรือหินในกลุํม มีการพัฒนาการของดินมานาน พบในที่ดอนเขตความชื้นดินแบบที่ดินแห๎งติดตํอกันนาน
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69