Page 4 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 4

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         (2)







                            สภาพพื้นที่ ของพื้นที่ด้าเนินการ มีลักษณะเป็นที่ดอนเป็นส่วนใหญ่ มีด้านสูงของพื้นที่อยู่ทางขอบ
                     ของพื้นที่ด้านทิศใต้ ตะวันออกเฉียงใต้ และทิศตะวันตก และลาดเทลงสู่ตอนกลาง และลาดเอียงลงสู่ทิศ

                     ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีคลองพระเพลิงใหญ่ ซึ่งอยู่ทางตอนกลางของพื้นที่ด้าเนินการ ไหลเรียบจากทิศ

                     ตะวันตกเฉียงใต้ไปทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ด้าเนินการ และคลองตะขบ ซึ่งอยู่ทางตอนกลางของ
                     พื้นที่ด้าเนินการไหลเรียบจากทิศใต้ไปทิศเหนือของพื้นที่ด้าเนินการ และไปบรรจบกับคลองพระเพลิงใหญ่

                     เป็นแหล่งน้้าที่มีน้้าไหลตลอดทั้งปี นอกจากนี้ยังมีสระน้้าขนาดเล็กในไร่นาที่ขุดเพื่อกักเก็บน้้าไว้ใช้ในช่วงฤดูแล้ง

                     กระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่ด้าเนินการ พื้นที่อยู่สูงจากระดับทะเลปานกลาง ประมาณ 64-106 เมตร

                            ด้านสภาพการใช้ที่ดิน พบว่าส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่รวม 4,274 ไร่ หรือร้อยละ 92.58

                     ของพื้นที่ด้าเนินการ โดยเป็นพื้นที่ปลูกข้าว มีเนื้อที่ 1,592 ไร่ หรือร้อยละ 34.48 ของพื้นที่ด้าเนินการ พืชไร่ มี

                     เนื้อที่ 1,290 ไร่ หรือร้อยละ 27.94 ของพื้นที่ด้าเนินการ ไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 1,163 ไร่ หรือร้อยละ 25.19 ของพื้นที่

                     ด้าเนินการ ไม้ผล มีเนื้อที่ 203 ไร่ หรือร้อยละ 4.40 ของพื้นที่ด้าเนินการ พืชสวน มีเนื้อที่ 14 ไร่ หรือร้อยละ 0.31

                     ของพื้นที่ด้าเนินการ พืชน้้า มีเนื้อที่ 12 ไร่ หรือร้อยละ 0.26 ของพื้นที่ด้าเนินการ ส่วนพื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่รวม

                     26 ไร่ หรือร้อยละ 0.55 ของพื้นที่ด้าเนินการ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง มีเนื้อที่รวม 207 ไร่ หรือร้อยละ 4.49

                     ของพื้นที่ด้าเนินการ และพื้นที่แหล่งน้้า มีเนื้อที่รวม 110 ไร่ หรือร้อยละ 2.38 ของพื้นที่ด้าเนินการ
                            ทรัพยากรดิน ที่พบจ้าแนกออกได้ 3 ชุดดิน 8 ดินคล้าย และ 4 หน่วยแผนที่เบ็ดเตล็ด ได้แก่ดิน
                     บ้านจ้องที่เป็นดินร่วนละเอียด และสีน้้าตาล (Bg-fl,br-clB/d ,E ) , ดินบ้านจ้องที่มีการระบายน้้าดีปานกลาง
                                                                     5 1
                     และดินร่วนละเอียด (Bg-mw,fl-clB/d ,E ) , ดินบ้านจ้องที่มีการระบายน้้าดีปานกลาง ดินร่วนละเอียด และ
                                                   5 1
                     สีน้้าตาล (Bg-mw,fl,br-clB/d ,E ) , ชุดดินเชียงคาน (Ch-sgclA/d ,E , Ch-gclA/d ,E , Ch-gclB/d ,E ) ,
                                                                          2g 0
                                             5 1
                                                                                                     2g 1
                                                                                       2g 0
                     ดินเชียงคานที่มีการระบายน้้าดีปานกลาง และสีน้้าตาล (Ch-mw,br-gclB/d ,E ) ,ดินเชียงคานที่อิ่มตัว
                                                                                   2g 1
                     ด้วยเบสสูง (Ch-hb-gclB/d ,E ) , ดินเชียงคานที่อิ่มตัวด้วยเบสสูง และสีน้้าตาล (Ch-hb,br-clB/d ,E
                                                                                                      2g 1
                                            2g 1
                     และCh-hb,br-gclB/d ,E ) , ดินเชียงคานที่อิ่มตัวด้วยเบสสูง และการระบายน้้าดีปานกลาง (Ch-hb, mw-
                                       2g 1

                     clA/d ,E , Ch-hb,mw-clA/d ,E ,b และ Ch-hb,mw-gclB/d ,E ) , ดินเชียงคานที่อิ่มตัวด้วยเบสสูง
                          2g 0
                                                                          2g 1
                                               2g 0
                     การระบายน้้าดีปานกลาง และสีน้้าตาล (Ch-hb,mw,br-clA/d ,E ,b และ Ch-hb,mw,br-gclB/d ,E ) ,
                                                                       2g 0
                                                                                                     2g 1
                     ชุดดินลี้(Li-vgclB/d ,E  และ Li-gclC/d ,E ) , ชุดดินทับกวาง (Tw-clA/d ,E , Tw-clA/d ,E ,b และ
                                                                                                5 0
                                                                                   5 0
                                                      2c 2
                                     1c 1
                     Tw-clB/d ,E ) , ดินวังสะพุงที่มีการระบายน้้าดีปานกลาง และสีน้้าตาล (Ws-mw,br-clA/d ,E  และ
                                                                                                   3g 0
                              5 1
                     Ws-mw,br-clA/d ,E ,b) พื้นที่ลุ่ม (หน่วยแผนที่ MARSH) พื้นที่ดัดแปลง(หน่วยแผนที่ ML) หมู่บ้าน สถานที่
                                   3g 0
                     ราชการและสถาบันต่างๆ(หน่วยแผนที่ U) ถนน(หน่วยแผนที่ R) แม่น้้าล้าคลองและบ่อน้้า (หน่วยแผนที่ W)
                            ด้านศักยภาพของดิน ดินในพื้นที่ทั้งหมดเป็นดินบนพื้นที่ดอน ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมดีส้าหรับ
                     การการปลูกพืชไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผล และท้าทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ มีข้อจ้ากัดเล็กน้อยเรื่องความอุดมสมบูรณ์ของ
                     ดิน บางพื้นที่มีความเหมาะสมปานกลางส้าหรับการการปลูกพืชไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผล และท้าทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์
                     โดยมีข้อจ้ากัดปานกลางเรื่องความลึกที่พบก้อนกรวด 35-60 เปอร์เซ็นต์ ที่ความลึก 25-50 เซนติเมตร และ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9