Page 141 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 141

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                        110


                                    2.3) ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้าในพื้นที่ลุ่ม/บนพื้นที่ดอน ได๎แกํ บริเวณที่พบ

                   หนํวยแผนที่ 17/35 มีเนื้อที่ 3,388 ไรํ หรือร๎อยละ 1.68 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้้า
                                    แนวทางแก้ไข
                                       พื้นที่ลุ่ม
                                          ปรับปรุงดินด๎วยอินทรียวัตถุ เชํนไถกลบตอซัง  ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา 2-3

                   ตันตํอไรํ หรือปลูกพืชปุ๋ยสด ไถกลบระยะออกดอก ปลํอยไว๎ 1-2 สัปดาห์ แล๎วปลูกพืช  รํวมกับการใช๎น้้า
                   หมักชีวภาพ พด.2 และ/หรือปุ๋ยเคมีในอัตราสํวนที่เหมาะสม
                                          ส้าหรับการปลูกข๎าว ในพื้นที่ที่ความลาดชันเล็กน๎อย ควรมีการปรับรูปแปลง
                   นาเพื่อให๎มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ สามารถกักเก็บน้้าสม่้าเสมอได๎ตลอดทั้งแปลงปลูก

                                          ส้าหรับการปลูกพืชไรํ ไม๎ยืนต๎นหรือไม๎ผล ควรมีการปรับพื้นที่โดยการท้าคัน
                   รอบพื้นที่ป้องกันน้้าทํวมในฤดูฝนและยกรํองแปลงปลูกเพื่อเพื่อชํวยด๎านการระบายน้้าให๎ดีขึ้น
                                       พื้นที่ดอน
                                          ส้าหรับการปลูกพืชไรํควรจัดระบบการปลูกพืชให๎หมุนเวียนตลอดทั้งปี

                   ปรับปรุงบ้ารุงดินด๎วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา 2-3  ตันตํอไรํ หรือปลูกพืชปุ๋ยสด ไถกลบระยะออกดอก
                   ปลํอยไว๎ 1-2 สัปดาห์ แล๎วปลูกพืช  รํวมกับการใช๎น้้าหมักชีวภาพ พด.2 และ/หรือปุ๋ยเคมีในอัตราสํวนที่
                   เหมาะสม ควรมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าที่เหมาะสมตามสภาพพื้นที่ เชํน ปลูกพืชปุ๋ยสด ปลูกพืชคลุม

                   ดิน ปลูกพืชแซม การท้าขั้นบันได ท้าคูรับน้้าขอบเขา การไถพรวนตามแนวระดับ ท้าแนวรั้วหญ๎าแฝก การ
                   ปลูกพืชสลับเป็นแถว และพัฒนาแหลํงน้้าและระบบการให๎น้้าไว๎ใช๎ในชํวงที่พืชขาดน้้า
                                          ส้าหรับการปลูกไม๎ผลหรือไม๎ยืนต๎น เตรียมหลุมปลูกขนาด 50x50x50
                   เซนติเมตร หรือถึงชั้นหินพื้น ปรับปรุงหลุมปลูกด๎วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก อัตรา 20-35  กิโลกรัมตํอหลุม
                   รํวมกับการใช๎น้้าหมักชีวภาพ พด.2 และ/หรือปุ๋ยเคมีในอัตราสํวนที่เหมาะสม ควรมีมาตรการอนุรักษ์ดิน

                   และน้้าที่เหมาะสมตามสภาพพื้นที่ เชํน การไถพรวนตามแนวระดับ ท้าฐานปลูกเฉพาะต๎น ปลูกพืชปุ๋ยสด
                   ปลูกพืชคลุมดิน วัสดุคลุมดิน ท้าคันดินรํวมกับปลูกหญ๎าแฝก หรือท้าแนวรั้วหญ๎าแฝก การสร๎างคันดิน
                   และพัฒนาแหลํงน้้าและระบบการให๎น้้าไว๎ใช๎ในชํวงที่พืชขาดน้้า

                                 3) ปัญหาดินตื้น/ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า บนพื้นที่ดอน
                                 โดยชั้นของเศษหิน ก๎อนกรวด หรือลูกรัง เป็นอุปสรรคตํอการไถพรวน และการชอนไช
                   ของรากพืช ท้าให๎พืชเจริญเติบโตได๎ไมํดีเทําที่ควร และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า เนื่องจากวัตถุต๎นก้าเนิด
                   ดินมีแรํธาตุอาหารตามธรรมชาติน๎อย ประกอบกับเกษตรกรมีการใช๎ประโยชน์ที่ดินอยํางตํอเนื่องติดตํอกัน

                   เป็นเวลานาน โดยไมํได๎มีการปรับปรุงบ้ารุงดินเทําที่ควร ท้าให๎ดินเสื่อมโทรมเป็นผลให๎พืชเจริญเติบโตช๎า
                   ผลผลิตตกต่้า ได๎แกํ บริเวณที่พบหนํวยแผนที่ดิน 48C/56C มีเนื้อที่ 1,462 ไรํ หรือร๎อยละ 0.72 ของพื้นที่
                   เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้้า
                                 แนวทางแก้ไข

                                    ดินตื้นปนเศษหิน ก้อนกรวด ลูกรัง
                                       ส้าหรับการปลูกพืชไรํ ควรเลือกพื้นที่มีหน๎าดินหนามากกวํา 25 เซนติเมตร มีการ
                   จัดระบบการปลูกพืชให๎หมุนเวียนตลอดทั้งปี ปรับปรุงบ้ารุงดินด๎วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา 3-4 ตันตํอไรํ
                   หรือปลูกพืชปุ๋ยสด ไถกลบระยะออกดอก ปลํอยไว๎ 1-2  สัปดาห์ แล๎วปลูกพืช  รํวมกับการใช๎น้้าหมัก

                   ชีวภาพ พด.2 และ/หรือปุ๋ยเคมีในอัตราสํวนที่เหมาะสม ควรมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าที่เหมาะสมตาม
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146