Page 112 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 112

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          88


                     ถึงเป็นกลาง มีคําความเป็นกรดเป็นดํางของดินประมาณ 5.5-7.0  บางพื้นที่อาจพบก๎อนกรวด ลูกรังหรือเศษหิน
                     ปะปนในหน๎าตัดดิน

                                      ปัญหาการใช๎ประโยชน์ที่ดิน :  ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า มีระดับน้้าใต๎ดินตื้น
                     และเสี่ยงตํอการถูกน้้าทํวมในฤดูน้้าหลาก
                                      กลุํมชุดดินที่ 59 พบ 1 หนํวยแผนที่ ได๎แกํ
                                            หนํวยแผนที่ 59 : กลุํมชุดดินที่ 59 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่

                     21,706 ไรํ หรือร๎อยละ 10.76 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้้า
                                   9) หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 17 และกลุ่มชุดดินที่ 35
                                      กลุํมชุดดินที่ 17 เป็นกลุํมชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินรํวนละเอียด ดินลึกมาก เกิด

                     จากการทับถมของตะกอนล้าน้้าในพื้นที่ราบลุํมหรือตะพักล้าน้้าระดับต่้า มีการพัฒนาการของดินมานาน
                     สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคํอนข๎างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของดินเลวถึง
                     คํอนข๎างเลว มีน้้าทํวมขังในฤดูฝน ดินมีความสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า
                                      ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินรํวนปนทราย สีน้้าตาล สีน้้าตาลปนเทาหรือสีเทา มีจุดประสี
                     น้้าตาล สีเหลืองหรือสีแดง  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง คําความเป็นกรดเป็นดําง

                     ประมาณ 5.0-6.0 สํวนดินลํางมีเนื้อดินเป็นดินรํวนเหนียวปนทราย หรือดินรํวนปนดินเหนียว และชั้นดิน
                     ลํางถัดไปอาจพบดินเหนียวปนทราย สีเทา หรือสีน้้าตาลปนเทา มีจุดประสีเหลือง สีน้้าตาล หรือสีแดงของ
                     ศิลาแลงอํอนปริมาณมากกวําร๎อยละ 5 โดยปริมาตร ภายในความลึก 150 เซนติเมตรจากผิวดิน ปฏิกิริยา

                     ดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด มีคําความเป็นกรดเป็นดํางประมาณ 4.5-5.5
                                      สํวนกลุํมชุดดินที่ 35 เป็นกลุํมชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินรํวนละเอียด ดินลึกมาก
                     เกิดจากการทับถมของตะกอนล้าน้้าหรือจากการสลายตัวผุผังของหินเนื้อหยาบ เชํน หินทราย หินแกรนิต
                     หรือหินในกลุํม มีการพัฒนาการของดินมานาน พบในที่ดอนเขตความชื้นดินแบบที่ดินแห๎งติดตํอกันนาน

                     สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคํอนข๎างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของดินดีถึงดีปาน
                     กลาง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า
                                      ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินรํวนปนทราย สีน้้าตาล สีน้้าตาลปนเทาหรือสีน้้าตาลปนแดง
                     ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด มีคําความเป็นกรดเป็นดํางประมาณ 5.0-5.5  สํวนดินลํางมีเนื้อ

                     ดินเป็นดินรํวนเหนียวปนทราย ชั้นดินลํางถัดไปอาจพบชั้นดินที่มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวปนทราย สีน้้าตาล สี
                     น้้าตาลปนแดง หรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด มีคําความเป็นกรดเป็นดํางประมาณ
                     4.5-5.5  บางพื้นที่อาจพบจุดประสีภายในความลึก 100 เซนติเมตรจากผิวดิน หรือพบชั้นลูกรังหรือก๎อน
                     กรวดในชํวงความลึก 100-150 เซนติเมตรจากผิวดิน

                                      ปัญหาการใช๎ประโยชน์ที่ดิน  : ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่้า ดินเป็นกรด
                     จัดมาก ต่้า มีเนื้อดินเป็นดินปนทราย และอาจแคลนน้้าในระยะฝนทิ้งชํวง
                                      โดยทั้งสองกลุํมชุดดินไมํสามารถแยกขอบเขตออกจากกันได๎

                                      หนํวยรวมของกลุํมชุดดินที่ 17 และกลุํมชุดดินที่ 35 พบ 1 หนํวยแผนที่ ได๎แกํ
                                            หนํวยแผนที่ 17/35  :  หนํวยรวมของกลุํมชุดดินที่ 17 มีความลาดชัน 0-2
                     เปอร์เซ็นต์และกลุํมชุดดินที่ 35 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ (สัดสํวน 50 : 50) มีเนื้อที่ 3,388 ไรํ หรือ
                     ร๎อยละ 1.68 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้้า
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117