Page 203 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 203

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      157


                 9. วิจารณ์ผลและข้อเสนอแนะ

                         ข้อมูลที่จัดท าด้วยระบบพิกัดหลักฐานต่างกัน ท าให้ผลการวิเคราะห์ได้แตกต่างกัน (ศรายุทธ,

                 2543) เช่น การใช้ระบบพิกัด Indian 1975 กับระบบพิกัด WGS 84 (Wolrd Geodetic System 1984) แม้

                 จะได้รับการแปลงพิกัดแผนที่ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์แล้ว แต่เมื่อน าข้อมูลมาซ้อนทับกัน ยังมีผลท า

                 ให้เส้นขอบเขตไม่ตรงกัน ซึ่งท าให้ผลการวิเคราะห์ที่ได้มีความผิดเพี ยนไปจากความเป็นจริง เช่น ในกรณีของ

                 แผนที่ป่าไม้ถาวรตามกฎหมาย มาตราส่วน 1 : 50,000 ที่จัดท าบนระบบพิกัด Indian 1975 เมื่อแปลงค่าสู่

                 ระบบพิกัด WGS 84 แล้วน ามาซ้อนทับกับแผนที่เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม ที่จัดท าขึ นบนระบบ

                 WGS 84 ซึ่งเป็นข้อมูลใหม่ พบว่า ยังมีพื นที่ป่าไม้ถาวรหลงเหลืออยู่บนแผนที่ ในขณะที่ตามสภาพความเป็น

                 จริงแล้วพื นที่ป่าไม้ถาวร ได้ถูกยกเลิกไปเพื่อจัดสรรเป็นพื นที่เพื่อการเกษตรกรรมทั งหมดแล้ว เป็นต้น

                 นอกจากนี  ความทันสมัยของข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ด้านสารสนเทศก็มีความส าคัญอย่างมาก ส าหรับใช้ใน

                 การวิเคราะห์ข้อมูลในระดับลุ่มน  าสาขา ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินมีความแตกต่างกันในเรื่องของปีที่เผยแพร่

                 ข้อมูล ซึ่งเชื่อมโยงให้รู้ถึงปีที่ท าการส ารวจที่ไม่ตรงกัน มีผลท าให้เกิดความคลาดเคลื่อนอย่างมากของข้อมูลที่

                 วิเคราะห์ได้กับสภาพความเป็นจริง และส าหรับลุ่มน  าห้วยกุดรังนี  ข้อมูลการใช้ที่ดินปัจจุบันจากกรมพัฒนา

                 ที่ดิน ได้ใช้ข้อมูลที่เผยแพร่ในปี 2553 ซึ่งเป็นข้อมูลล่าสุดที่มีอยู่ในขณะนี  ท าให้ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ไม่

                 ตรงกับสภาพความเป็นจริง อย่างไรก็ตามในการศึกษานี ได้ใช้ข้อมูลดังกล่าวเพื่อการศึกษาถึงแนวโน้มของการ

                 ใช้ที่ดินเท่านั น อันจะมีส่วนในการก าหนดนโยบายการท างาน ส่วนการด าเนินการในพื นที่ด าเนินการ ได้ใช้

                 ข้อมูลที่ได้จากการส ารวจแบบละเอียดที่มีความถูกต้องของข้อมูลสูงกว่าร้อยละ 90 นอกจากนี ข้อมูลอื่นๆ ที่

                 เกี่ยวข้องและมีความส าคัญจ าเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูลของพื นที่ ไม่ได้ถูกน ามารวบรวมไว้ในรายงานเล่มนี

                 เช่น การประเมินการชะล้างพังทลายของดิน การประเมินอัตราการไหลบ่าของน  าและปริมาณน  าท่า ที่จะตก

                 ลงมาในพื นที่เขตพัฒนาที่ดินและพื นที่ด าเนินการ ท าให้ไม่สามารถให้ค าแนะน าการจัดท ามาตรการระบบ

                 อนุรักษ์ดินและน  าได้อย่างสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของปัญหา อันอาจส่งผลต่อระดับความส าเร็จใน

                 การด าเนินงานด้านการพัฒนาที่ดินได้


                 10. ประโยชน์ที่ได้รับ


                         10.1 เป็นข้อมูลพื นฐานเพื่อการพัฒนาพื นที่ให้แก่หน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก ในการ

                 น าไปใช้เพื่อการวางแผนการใช้ที่ดิน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การจัดท าแผนแม่บทการพัฒนาในระดับ

                 ต่างๆ เช่น แผนพัฒนาการเกษตรระดับต าบล และระดับอ าเภอ

                         10.2 เป็นข้อมูลพื นฐานส าหรับงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรดิน น  า พืช ในพื นที่โครงการ
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208