Page 168 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 168

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      131


                                  คุณสมบัติทางเคมีของชุดดินขามทะเลสอ (Kham Thale So series)

                   Depth       Sand       Silt      Clay      Texture      pH         CEC          BS
                    (cm)        (%)       (%)        (%)                (1:1 H O)  (meq/100g)      (%)
                                                                             2
                    0-18       83.7       12.3       4.0        ls         4.4        1.66        25.2

                    18-40      84.0       11.0       5.0        ls         4.7        1.97        33.6

                    40-50      71.3       9.7       19.0        sl         5.1        6.90        47.5

                    50-80      68.8       10.8      20.4        scl        6.3        7.56        42.5

                   80-180      62.4       12.2      25.5        scl        6.7        9.73        43.2



                                5) ชุดดินมหาสารคาม (Maha Sara Kham series: Msk)

                                การจ าแนก :   loamy, siliceous, semiactive isohyperthermic Oxyaquic Arenic

                 Haplustalfs

                                มีเนื อดินเป็นพวกดินทรายหนาปานกลาง ดินลึกมาก เกิดจากตะกอนน  าพามาทับถมบน

                 พื นผิวที่เหลือจากการกร่อน สภาพพื นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีการ

                 ระบายน  าดีถึงดีปานกลาง น  าซึมผ่านปานกลางในดินบนและช้าในดินล่าง การไหลบ่าของน  าบนดินปานกลาง

                                ลักษณะดินที่พบ : ดินบนมีความหนาประมาณ 20 เซนติเมตร มีเนื อดินเป็นดินทรายปน

                 ดินร่วน สีน  าตาลถึงน  าตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง

                 6.5-7.4

                                ดินล่าง มีเนื อดินเป็นดินทรายปนดินร่วน ดินล่างลึกมาก 70 เซนติเมตรจากผิวดิน มีเนื อ

                 ดินร่วนเหนียวปนทราย มีสีพื นเป็นสีน  าตาลอ่อนถึงสีน  าตาลปนแดง พบจุดประสีน  าตาลปนเหลืองหรือน  าตาล

                 ปนแดงเข้ม ที่ความลึก 90 เซ็นติเมตร มีปฏิกิริยาดินเป็นกรดเป็นกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 6.9-7.1

                                สภาพการใช้ที่ดินปัจจุบัน : เป็นพื นที่ปลูก อ้อย มันส าปะหลัง มะม่วง ไม้ยืนต้น พื นที่เลี ยง

                 สัตว์ ไม้ละเมาะ และบางพื นที่ใช้ปลูกข้าว

                                ปัญหาการใช้ที่ดิน : เนื อดินบนเป็นดินทรายจัด มักเกิดการชะล้างพังทลาย และมีความ

                 อุดมสมบูรณ์ต่ า

                                ข้อเสนอแนะการใช้ที่ดิน : ควรปรับปรุงบ ารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ ควบคู่กับการปลูกพืช

                 หมุนเวียนหรือพืชปุ๋ยสดปรับปรุงบ ารุงดิน และการใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน เพื่อหมุนเวียนธาตุอาหารใน

                 ดิน ในพื นที่ลาดชันปลูกพืชไร่ ควรจัดท ามาตรการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน เช่น การไถขวางความ

                 ลาดเทหรือการปลูกหญ้าแฝกเพื่อชะลอการไหลบ่าของน  า
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173