Page 155 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 155

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      119


                             7.3.3 สภาพทางน ้าและแหล่งน ้า

                             มีทรัพยากรน  าที่ส าคัญ ได้แก่ ล าห้วยใหญ่ และล าห้วยยาง โดยล าห้วยใหญ่ไหลเข้าสู่พื นที่

                 ด าเนินการทางด้านทิศใต้ของพื นที่ด าเนินการ ไหลมาบรรจบกับล าห้วยยางที่ไหลมาจากด้านทิศตะวันออก

                 บริเวณพื นที่ตอนกลางของพื นที่ด าเนินการ โดยมีทิศทางการไหลจากด้านทิศตะวันออกไปด้านทิศตะวันตก

                 เฉียงเหนือ เป็นแหล่งน  าที่มีน  าไม่ตลอดทั งปี โดยจะแห้งขอดในฤดูแล้งในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน

                 ของทุกปี มีสระน  าที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของพื นที่นี  คือสระหนองแสง ตั งอยู่บริเวณบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 เป็น

                 แหล่งน  าเพื่อการอุปโภคและบริโภคของชุมชน โดยหากกล่าวถึงขนาดพื นที่ทรัพยากรน  าของพื นที่ด าเนินการนี

                 มีเนื อที่ประมาณ 266 ไร่ หรือร้อยละ 6.45 ของพื นที่ด าเนินการ (ภาพที่ 27)

                             7.3.4 ลักษณะทางธรณีวิทยา

                             บริเวณพื นที่ด าเนินการ ทั งหมดถูกครอบคลุมด้วยหน่วยหินมหาสารคาม (Maha Sara Kham

                 Formation, KTms) เป็นหน่วยหินที่พบอยู่ในช่วงคลีเทเชียสช่วงบนจนถึงเทอร์เชียรีช่วงล่าง (upper

                 cretaceous – lower tertiary) ที่มีอายุประมาณ 6.5-1.8 ล้านปี ประกอบด้วย หินทรายแป้งและหินทราย

                 สีน  าตาลแกมแดงและแดงอ่อน มีเกลือหินและยิปซั่มแทรกสลับ ดังภาพที่ 28

                             7.3.5 ธรณีสัณฐานและวัตถุต้นก้าเนิดดิน

                             จากการส ารวจภาคสนาม และข้อมูลลักษณะทางธรณีวิทยา ของพื นที่ด าเนินการ บ้านวังทอง

                 หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ต าบลห้วยเตย

                 อ าเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม สามารถสรุปได้ดังนี

                                1) พื นที่ราบตะกอนน ้าพา (alluvial plain) พบบริเวณตอนกลางและปลายของพื นที่

                 ด าเนินการ ที่เกิดจากอิทธิพลของล าน  าสองสายที่ไหลมาบรรจบกัน ล าน  าได้พัดพาเอาตะกอนดินจากพื นที่สูง

                 ไหลลงสู่พื นที่ราบต่ า มาทับถมกันบนพื นที่เกือบราบ โดยมีวัตถุต้นก าเนิดดินเป็นตะกอนน  าพา

                                2) ตะพักล้าน ้า (alluvial terrace) พบบริเวณถัดขึ นมาจากพื นที่ราบตะกอนน  าพา

                 (Alluvial plain) มีลักษณะเป็นที่ราบเป็นขั นๆ เกิดจากทางน  าที่ตะกอนตกจมทับถมกลายเป็นที่ราบลุ่มแม่น  า

                 โดยมีวัตถุต้นก าเนิดดินเป็นวัตถุเคลื่อนย้ายของตะกอนหินดินดานและหินทราย

                                3) พื นผิวเหลือจากการกร่อน (erosional surface) ส่วนมากพบบริเวณด้านทิศเหนือ

                 และด้านทิศตะวันตกของพื นที่ด าเนินการ ที่เกิดจากกระบวนการชะล้างโดยกระแสน  าและการตกกระแทก

                 ของเม็ดฝน ท าให้วัสดุหน้าดินที่เกาะตัวหลวมกว่าถูกชะล้างออกไปได้ง่าย คงเหลือพื นที่คงทนต่อการกัดเซาะ

                 ท าให้เกิดสภาพพื นที่ลูกคลื่นลอนลาดตามแนวสันขอบของพื นที่ด าเนินการ
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160