Page 256 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 256

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        190




                  เซนติเมตร ที่พบชั้นดาน  ได้แก่ หน่วยแผนที่ Wk-slE/d1,E3  มีเนื้อที่ 50  ไร่ หรือร้อยละ 1.09  ของพื้นที่
                  ด้าเนินการ

                                      (12)  ดินที่ไม่เหมาะสมส้าหรับปลูกข้าว พืชไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้น และทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์
                  มีข้อจ้ากัดรุนแรงมากที่มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด ดินตื้น ดินหนา 25-50 เซนติเมตร ที่พบชั้นดาน มี

                  หินพื้นโผล่ และมีการระบายน้้าดีมาก ได้แก่ หน่วยแผนที่ RC มีเนื้อที่ 408 ไร่ หรือร้อยละ 8.87 ของพื้นที่

                  ด้าเนินการ
                                      (13)  พื้นที่อื่นๆ ได้แก่ หน่วยแผนที่ U  และ W  มีเนื้อที่ 397  ไร่ หรือร้อยละ 8.63

                  ของพื้นที่ด้าเนินการ

                                8.3.7  ปัญหาทรัพยากรดินและแนวทางการแก้ไขปัญหา
                                      (1) ปัญหาทรัพยากรดิน

                                         1)  ปัญหาดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นหินพื้น พบในพื้นที่ดอนเขตความชื้นดิน
                  แบบที่ดินแห้งติดต่อกันนาน มีเนื้อที่ 931 ไร่ หรือร้อยละ 20.24 ของพื้นที่ด้าเนินการ ชั้นของกรวด ลูกรังหรือ

                  เศษหิน เป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช ท้าให้พืชเจริญเติบโตได้ไม่ดีเท่าที่ควร ได้แก่ หน่วยแผนที่
                  Wk-lsC/d ,E  Wk-lsD/d ,E  และ Wk-lsE/d ,E
                                       2 3
                           2 2
                                                        1 3
                                             แนวทางการแก้ไข
                                             ควรปลูกพืชรากสั้น เช่น พืชไร่ หรือพืชผัก หรือขุดหลุมกว้างxยาวxลึก
                  เท่ากับ 75x75x75 เซนติเมตร แล้วน้าดินอื่นที่เหมาะสมคลุกเคล้ากับปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอก อัตรา 15-25

                  กิโลกรัมต่อหลุม มาใส่เพื่อปลูกไม้ผล บางพื้นที่ตื้นมากหรือมีเศษหินลอยหน้ามาก ไม่ควรใช้พื้นที่นั้น เหมาะ

                  ส้าหรับอนุรักษ์เป็นป่าธรรมชาติ
                                         2)  ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า  มีเนื้อที่ 1,982 ไร่ หรือร้อยละ 43.08 ของ

                  พื้นที่ด้าเนินการ เนื่องจากวัตถุต้นก้าเนิดดินมีแร่ธาตุอาหารตามธรรมชาติน้อย ประกอบกับเกษตรกรมีการ
                  ใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยไม่ได้มีการปรับปรุงบ้ารุงดินเท่าที่ควร ท้าให้ดิน

                  เสื่อมโทรมเป็นผลให้พืชเจริญเติบโตช้า ผลผลิตตกต่้า
                                               - ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้าพื้นที่ลุ่ม มีเนื้อที่ 168 ไร่ หรือร้อยละ

                  3.65 ของพื้นที่ด้าเนินการ ได้แก่ หน่วยแผนที่ AC-spd,fsi-siclA/d ,E ,b
                                                                        5 0
                                               - ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้าพื้นที่ดอน มีเนื้อที่ 463  ไร่ หรือร้อย
                  ละ 10.06 ของพื้นที่ด้าเนินการ ได้แก่ AC-mw,fl-lA/d ,E ,b  และCpg-mw,fsi-silB/d ,E
                                                              5 0
                                                                                         5 0
                                               - ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้าและมีการกร่อนพื้นที่ดอน  มีเนื้อที่

                  1,351  ไร่ หรือร้อยละ 29.37  ของพื้นที่ด้าเนินการ  การกร่อนของดินเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ
                  โดยเฉพาะพื้นที่ทีมีความลาดชัน ได้แก่ Ds-slB/d ,E  Ds-slC/d ,E   Ds-slD/d ,E  และDs-br-slC/d ,E
                                                                                5 2
                                                        5 1
                                                                                                 5 1
                                                                    5 1
                                              แนวทางการแก้ไข
                                              ต้องท้าการปรับปรุงบ้ารุงดินโดยการเพิ่มธาตุอาหารให้แก่พืช คือ การใส่
                  ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยพืชสด ควบคู่ไปกับปุ๋ยวิทยาศาสตร์ ปุ๋ยหมักใส่อัตรา 1-2 ตันต่อไร่ เพื่อปรับ
   251   252   253   254   255   256   257   258   259   260   261