Page 193 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 193

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                        141


                  ค่าวิเคราะห์ดิน
                  ความลึก      OM (%)       P (ppm)      K (ppm)       pH       BS (%)*  CEC (meq/100 g)*

                   (cm)          0.82          16           56          7.0        -               -
                   0-15
                   15-35         0.15          54           40          7.5        -               -

                   35-85         0.22          1            12          7.0        -               -
                  85-130         0.24          1            12          8.0        -               -

                  130-170        0.27          1             8          8.0        -               -

                  ที่มา : ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ดิน ส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 8

                  หมายเหตุ : ค่าที่มี * น้ามาจากค่าที่วิเคราะห์ชุดดินจัดตั้ง (กรมพัฒนาที่ดิน, 2547)

                                    ดินตะกอนน้้าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้้าดีปานกลางและเป็นดินร่วนละเอียด พบ 1

                  หน่วยแผนที่ ได้แก่
                                        หน่วยแผนที่ AC-mw,fl-lA/d ,E ,b : ดินตะกอนน้้าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้้าดี
                                                                5 0
                  ปานกลางและเป็นดินร่วนละเอียด มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก ไม่มีการ
                  กร่อน คันนา มีเนื้อที่ 226 ไร่ หรือร้อยละ 4.91 ของพื้นที่ด้าเนินการ

                                2)  ดินตะกอนน  าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน  าค่อนข้างเลวและเป็นดินทรายแป้ง
                  ละเอียด (Alluvial Complex somewhat poorly drained and fine silty variant: AC-spd,fsi)

                                    การจ้าแนกดิน : fine-silty, mixed, active, isohyperthermic Aquic Dystrustepts.

                                    ดินตะกอนน้้าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้้าค่อนข้างเลวและเป็นดินทรายแป้งละเอียด
                  พบบริเวณที่ราบลุ่มระหว่างหุบเขา เกิดจากการทับถมของตะกอนล้าน้้า ดินนี้เป็นดินทรายแป้งละเอียด ลึก

                  มากกว่า 150  เซนติเมตรจากผิวดิน สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2

                  เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของดินค่อนข้างเลว ความสามารถให้น้้าซึมผ่านได้ช้า อัตราการไหลบ่าของน้้าบน
                  ผิวดินช้า และความอุดมสมบูรณ์ของดินต่้า

                                    ดินบนหนา 15-20 เซนติเมตร มีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง สีน้้าตาลหรือ
                  สีน้้าตาลเข้ม มีจุดประสีน้้าตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงกรดเล็กน้อย มีค่าความเป็นกรด

                  เป็นด่างของดินประมาณ 6.0-6.5  ดินล่างมีเนื้อดินเป็นชั้นสลับของดินร่วนปนทรายแป้ง ดินร่วนเหนียวปน
                  ทรายแป้ง หรือดินร่วนปนดินเหนียว สีน้้าตาลปนเทา มีจุดประสีเหลืองหรือสีเหลืองปนแดงและพบจุดประสี

                  เทาภายในความลึก 75 เซนติเมตรจากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง มีค่าความเป็นกรด

                  เป็นด่างประมาณ 6.0-7.0 บางพื้นที่อาจพบก้อนหินปะปนในดินล่าง
                                    ปัจจุบันดินนี้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินมีการท้าคันนาปลูกข้าว

                                    ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน : บางพื้นที่เสี่ยงต่อการถูกน้้าไหลบ่าท่วมขังในฤดูฝน และ

                  อาจมีก้อนหินปะปนอยู่ในดินล่าง
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198