Page 120 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 120

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        92





                                   5) ทรัพยากรน  า
                                      ทรัพยากรน้้าบริเวณพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าห้วยน้้าเทิน จังหวัดพิษณุโลก

                  ประกอบด้วยทางน้้าธรรมชาติ และแหล่งน้้าธรรมชาติ ไม่พบพื้นที่ชลประทาน (ภาพที่ 19)
                                      ทางน้้าธรรมชาติ ประกอบด้วย ล้าห้วยหลัก 2 สาย คือ ห้วยน้้าเทิน และห้วยน้้า

                  ไคร้ ซึ่งไหลจากทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ขึ้นไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ ลงไปยังที่ราบลุ่มต่้าบริเวณ

                  หนองเขียว และหนองกกขนุนที่อยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเขตพัฒนาที่ดินก่อนไหลออกจากแนว
                  เขตพัฒนาที่ดิน ห้วยน้้าเทินมีต้นก้าเนิดบริเวณสันเขาทางด้านฝั่งตะวันตกระหว่างบ้านไร่วังเงินกับบ้านแก่งหว้า

                  ไหลผ่านพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินด้านตะวันตกขึ้นไปทางทิศเหนือ และห้วยน้้าไคร้มีต้นก้าเนิดบริเวณสันเขาปูรู

                  ทางด้านใต้ฝั่งตะวันออกไหลผ่านพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินด้านตะวันออกขึ้นไปทางเหนือ และออกจากพื้นที่เขต
                  พัฒนาที่ดินที่บ้านบุ่งเย็น

                                      แหล่งน้้าธรรมชาติ ประกอบด้วย อ่างเก็บน้้าพิกุลทอง อ่างเก็บน้้าแก่งหว้า ตั้งอยู่
                  ทางทิศใต้ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน หนองกกขนุน และหนองเขียวตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ

                  พื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน
                             7.2.2 ทรัพยากรป่าไม้

                                   เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าห้วยน้้าเทิน จังหวัดพิษณุโลก จ้าแนกพื้นที่ป่าไม้และเขตปฏิรูป

                  ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ได้ 3 เขต ดังนี้ (ภาพที่ 20)
                                   1) เขตพื้นที่ป่าเพื่อเศรษฐกิจ (Zone  E) หมายถึง พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติที่ก้าหนดไว้

                  เพื่อผลิตไม้ และของป่ารวมถึงพื้นที่เศรษฐกิจตามนัยมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการก้าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้้า

                  และการจ้าแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ป่าชายเลน พื้นที่เพื่อการพัฒนาการทรัพยากรป่าไม้ และ
                  พื้นที่ประสานการใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่างทรัพยากร ป่าไม้กับทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ เช่น ทรัพยากร

                  มนุษย์ ทรัพยากรแร่ และทรัพยากรพลังงาน เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและความมั่นคงของชาติ ตลอดทั้ง
                  ต้องไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จ้าแนกให้เป็นเขตพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ มีพื้นที่ประมาณ 13,347 ไร่ หรือร้อยละ

                  50.86 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน
                                   2) เขตพื้นที่นอกเขตป่าไม้ตามกฎหมาย มีพื้นที่ประมาณ 6,127 ไร่ หรือร้อยละ 23.35

                  ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                   3) เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม  หมายความว่า การปรับปรุงเกี่ยวกับสิทธิและการถือ
                  ครองในที่ดินเพื่อเกษตรกรรม รวมตลอดถึงการจัดที่อยู่อาศัยในที่ดินเพื่อเกษตรกรรมนั้น โดยรัฐน้าที่ดินของ

                  รัฐ หรือที่ดินที่รัฐจัดซื้อหรือเวนคืนจากเจ้าของที่ดิน ซึ่งมิได้ท้าประโยชน์ในที่ดินนั้นด้วยตนเอง หรือมีที่ดิน

                  เกินสิทธิตามพระราชบัญญัตินี้เพื่อจัดให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ดินของตนเองหรือเกษตรกรที่มีที่ดินเล็กน้อยไม่
                  เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตรกรได้เช่าซื้อเช่าเข้าท้าประโยชน์โดยรัฐให้ความช่วยเหลือใน

                  การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม การปรับปรุงทรัพยากรและปัจจัยการผลิตตลอดจนการผลิตและการจ้าหน่าย
                  ให้เกิดผลดียิ่งขึ้น มีพื้นที่ประมาณ 6,768 ไร่ หรือร้อยละ 25.79 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125