Page 104 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 104

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        81





                  7.1.6  ปัญหาทรัพยากรดิน

                                จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรดินบริเวณพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาแม่น้้าแควน้อย

                  (รหัส 0914) สามารถสรุปปัญหาทรัพยากรดินในพื้นที่พร้อมทั้งแนวทางการแก้ไขปัญหาไว้ดังนี้ (ภาพที่ 13)
                                        1)  ปัญหาดินทราย พบในพื้นที่ดอนเขตความชื้นดินแบบที่ดินแห้งติดต่อกันนาน

                  มีเนื้อที่รวม 8,681  ไร่ หรือร้อยละ 0.3139  ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา ดินนี้โครงสร้างดินไม่ดี มีปริมาณ
                  อินทรียวัตถุต่้า ดูดซับแร่ธาตุอาหารได้น้อย จึงมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า ได้แก่ กลุ่มชุดดิน 44

                                        2)    ปัญหาดินตื นปนกรวด ลูกรัง หรือเศษหิน ดินตื้นหรือความหนาของชั้นดิน

                  บนน้อยกว่า 50 เซนติเมตรจากผิวดิน จนท้าให้พืชที่ปลูกเจริญเติบโตผิดปกติ มีเนื้อที่รวม 181,545 ไร่ หรือ
                  ร้อยละ 6.5646  ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา แบ่งตามชนิดของวัสดุที่จ้ากัดการชอนไชของรากพืชการเจริญเติบโต

                  และให้ใช้ผลผลิต แบ่งออกได้ 2 กลุ่มดังนี้
                                            2.1) กลุ่มดินตื้นถึงลูกรังและเศษหิน พบในพื้นที่ดอน ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่

                  46, 48, 49 หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 29/48, 35/48, 35/49 และ 48/56 มีเนื้อที่ 169,601 ไร่ หรือร้อย

                  ละ 6.1327 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                            2.2) กลุ่มดินตื้นถึงชั้นหินพื้น พบในพื้นที่ดอน ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 47  และ

                  หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 31/47 มีเนื้อที่ 11,944 ไร่ หรือร้อยละ 0.4319 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                        3)    ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า   มีเนื้อที่รวม 879,693  ไร่ หรือร้อยละ

                  31.8090 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา เนื่องจากวัตถุต้นก้าเนิดดินมีแร่ธาตุอาหารตามธรรมชาติน้อย ประกอบกับ

                  เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยไม่ได้มีการปรับปรุงบ้ารุงดิน
                  เท่าที่ควร ท้าให้ดินเสื่อมโทรมเป็นผลให้พืชเจริญเติบโตช้า ผลผลิตตกต่้า

                                            3.1) ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้าพื้นที่ลุ่ม มีเนื้อที่ 220,933 ไร่ หรือร้อย
                  ละ 7.9888 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา ได้แก่ บริเวณที่พบกลุ่มชุดดินที่ 6, 16, 17, 18, 21 และ 22

                                            3.2) ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้าพื้นที่ดอน มีเนื้อที่ 658,760  ไร่ หรือ

                  ร้อยละ 23.8202 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา ได้แก่ บริเวณที่พบกลุ่มชุดดินที่ 29, 35, 36, 40, 56, หน่วยรวมของ
                  กลุ่มชุดดินที่ 17/35, 29/35, 29/40, 35/35, 35/40, 35/56, 40/44 และ40/56

                                        4)  ปัญหาพื นที่มีความลาดชันสูง  มีเนื้อที่ประมาณ 1,169,069 ไร่ หรือร้อยละ
                  42.2728  ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 62 พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงและการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                  เป็นป่าไม้ไม่เหมาะที่จะน้ามาใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร

                                        5)  ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง  มีเนื้อที่ประมาณ 259,376 ไร่ หรือร้อย
                  ละ 9.3791 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา เป็นทรัพยากรดินที่มีความเหมาะสมต่อการเกษตรกรรม

                                            5.1) ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางพื้นที่ลุ่ม มีเนื้อที่ประมาณ 203,630
                  ไร่ หรือร้อยละ 7.3535 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 4, 5, 7 และ15
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109