Page 92 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 92

66




                                 12)   ไรหมุนเวียน มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก 47,379 ไร ในป พ.ศ. 2555 เปน 49,323 ไร ในป
                  พ.ศ. 2558 เพิ่มขึ้น 1,944 ไร หรือรอยละ 4.10 ของเนื้อที่เดิม โดยมีพื้นที่ไรหมุนเวียน คงเดิมจากป พ.ศ. 2555
                  จํานวน 46,534 ไร และเพิ่มขึ้นการเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวโพด ในป พ.ศ. 2555 มากที่สุด จํานวน

                  1,918 ไร   พบในอําเภอปง อําเภอภูกามยาว  รองลงมาเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวไร จํานวน  523 ไร
                  พบในอําเภอปง และเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปาสมบูรณ จํานวน 187 ไร พบมากในอําเภอเชียงมวน
                                   ในขณะเดียวกันพบวา  พื้นที่ไรหมุนเวียนในป  พ.ศ.  2555  ลดลง  โดยเปลี่ยนแปลงไปเปน
                  การใชที่ดินประเภทอื่น ๆ ในป พ.ศ. 2558 เชนเดียวกัน โดยเปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปารอสภาพฟนฟู ในป พ.ศ.
                  2558 มากที่สุด จํานวน 433 ไร  พบมากในอําเภอปง  อําเภอเชียงคํา รองลงมา ไดแก เปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูก

                  ขาวโพดจํานวน 182 ไร พบในอําเภอแมใจ และเปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูกยางพาราจํานวน 121 ไร พบมากใน
                  อําเภอเชียงมวน อําเภอแมใจ (ภาพที่ 26)
                                   13)   พื้นที่เกษตรอื่น ๆ เชน พืชสวน ทุงหญาและโรงเรือนเลี้ยงสัตว พืชน้ํา และสถานที่

                  เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เปนตน มีเนื้อที่ลดลงจาก 31,476 ไร ในป พ.ศ. 2555 เปน 25,212 ไร ในป พ.ศ. 2558
                  ลดลง 6,264  ไร  หรือรอยละ  19.90  ของเนื้อที่เดิม  ซึ่งมีพื้นที่เกษตรอื่นๆ  คงเดิมจากป พ.ศ. 2555  จํานวน
                  22,233 ไร และเปลี่ยนไปเปนพื้นที่นา ในป พ.ศ. 2558  มากที่สุด มีเนื้อที่ จํานวน 7,862 ไร  พบมากในอําเภอ
                  เมืองพะเยา  อําเภอดอกคําใต  รองลงมา  ไดแก เปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูกขาวโพด จํานวน 723  ไร พบใน

                  อําเภอมืองพะเยา  และเปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูกยางพารา จํานวน 116 ไร พบในอําเภอเชียงคํา
                                   ในขณะเดียวกันพื้นที่เกษตรอื่นๆ เชน พืชสวน ทุงหญาและโรงเรือนเลี้ยงสัตว พืชน้ํา และ
                  สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ในป พ.ศ. 2558 เพิ่มขึ้นมาจากการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินประเภทอื่นๆ ในป พ.ศ.
                  2555  โดยเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่นา  มากที่สุด  จํานวน  1,257  ไร  พบมากในอําเภอดอกคําใต  อําเภอจุน

                  อําเภอภูกามยาว  รองลงมาไดแก  เปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวโพด  จํานวน    657  ไร  พบมากในอําเภอ
                  เชียงคํา อําเภอเชียงมวน และเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่เบ็ดเตล็ด เชน ทุงหญาธรรมชาติ ทุงหญาสลับไมละเมาะ
                  จํานวน 406 ไร พบมากในอําเภอดอกคําใต
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97