Page 84 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 84

61





                                   9)  ไมผลอื่น ๆ เชน มะมวง มะขาม แกวมังกร กลวย สม เงาะ สมโอ เปนตน

                  มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก 15,630 ไร ในป พ.ศ. 2555 เปน 17,284 ไร ในป พ.ศ. 2558  เพิ่มขึ้น 1,654 ไร หรือ  รอย
                  ละ 10.58  ของเนื้อที่เดิม โดยมีพื้นที่ปลูกไมผลอื่นๆ คงเดิมจากป พ.ศ. 2555 จํานวน 14,715 ไร และเพิ่มขึ้น
                  การเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกพื้นที่ลําไย  ในป พ.ศ. 2555 มากที่สุด จํานวน 785  ไร    พบในอําเภอดอก
                  คําใต  อําเภอภูกามยาว    อําเภอเชียงมวน  รองลงมาเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวโพด  571  ไร    พบใน

                  อําเภอเชียงคํา อําเภอแมใจ อําเภอเมืองพะเยา และเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกสัก 251 ไร พบมากในอําเภอ
                  ดอกคําใต
                                   ในขณะเดียวกันพบวา พื้นที่ปลูกไมผลอื่น ๆ ในป พ.ศ. 2555 ลดลง โดยเปลี่ยนแปลงไป
                  เปนการใชที่ดินประเภทอื่น ๆ ในป พ.ศ. 2558 เชนเดียวกัน โดยเปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูกลําไย ในป พ.ศ. 2558

                  มากที่สุด  จํานวน  246  ไร  พบมากในอําเภอดอกคําใต  อําเภอเชียงมวน  อําเภอภูกามยาว  รองลงมา  ไดแก
                  เปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูกขาวโพด  245  ไร  พบในอําเภอแมใจ  อําเภอเมืองพะเยา  และเปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูก
                  ยางพารา 111 ไร พบมากในอําเภอเมืองพะเยา (ภาพที่ 22)

                                   10)   ลิ้นจี่ มีเนื้อที่ลดลงจาก 25,801  ไร ในป พ.ศ. 2555   เปน 24,690  ไร ในป พ.ศ.  2558
                  ลดลง 1,111 ไร หรือรอยละ 4.31 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งมีพื้นที่ปลูกลิ้นจี่คงเดิมจากป พ.ศ. 2555 จํานวน 24,206 ไร

                  และเปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูกขาวโพดในป พ.ศ. 2558   มากที่สุด มีเนื้อที่จํานวน 508  ไร พบมากใน    อําเภอแมใจ
                  รองลงมา  ไดแก เปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูกยางพาราจํานวน 419  ไร พบในอําเภอแมใจ อําเภอเมืองพะเยา และ
                  เปลี่ยนไปเปนพื้นที่นาจํานวน 133 ไร พบในอําเภอแมใจ   (ภาพที่ 23)

                                   ในขณะเดียวกันพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ในป พ.ศ. 2558 เพิ่มขึ้นมาจากการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน
                  ประเภทอื่นๆ ในป พ.ศ. 2555 โดยเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปาสมบูรณ มากที่สุด จํานวน 162 ไร พบมากใน
                  อําเภอแมใจ รองลงมาไดแก เปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกลําไย จํานวน 155 ไร พบมากในอําเภอแมใจ อําเภอ
                  จุน และเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวโพด จํานวน 65 ไร พบมากในอําเภอแมใจ

                                   11)   ลําไย มีเนื้อที่ลดลงจาก  103,994  ไร ในป พ.ศ.  2555  เปน  103,246  ไร  ในป

                  พ.ศ.  2558  ลดลง  748  ไร หรือรอยละ  0.72  ของเนื้อที่เดิม ซึ่งมีพื้นที่ปลูกลําไยคงเดิมจาก
                  ป พ.ศ. 2555  จํานวน 97,162  ไร และเปลี่ยนเปนพื้นที่ปลูกขาวโพดในป พ.ศ. 2558   มากที่สุด มีเนื้อที่จํานวน
                  2,050 ไร (ภาพที่ 24) พบมากในอําเภอเชียงมวน อําเภอดอกคําใต อําเภอเมืองพะเยา  รองลงมา  ไดแก เปลี่ยนไปเปน
                  พื้นที่ปลูกยางพาราจํานวน 981 ไร  พบในอําเภอเมืองพะเยา อําเภอดอกคําใต อําเภอภูกามยาว และเปลี่ยนไปเปน

                  พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง  737 ไร  พบในอําเภอเชียงคํา อําเภอเมืองพะเยา อําเภออดอกคําใต
                                   ในขณะเดียวกันพื้นที่ปลูกลําไยในป พ.ศ. 2558 เพิ่มขึ้นมาจากการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน
                  ประเภทอื่นๆ ในป พ.ศ. 2555 โดยเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวโพด มากที่สุด จํานวน 3,586 ไร  พบมาก
                  ในอําเภอ   เชียงมวน อําเภอดอกคําใต อําเภอภูกามยาว  รองลงมาไดแก เปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่นา จํานวน

                  446 ไร  พบมากในอําเภอดอกคําใต อําเภอเมืองพะเยา อําเภอภูกามยาว (ภาพที่ 25) และเปลี่ยนแปลงมาจาก
                  พื้นที่ปลูกยางพารา จํานวน 438 ไร  พบมากในอําเภอเชียงมวน อําเภอดอกคําใต อําเภอเมืองพะเยา
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89