Page 55 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 55

36




                             (2)  พืชไร (A2) มีเนื้อที่ 449,089 ไร หรือรอยละ 11.34 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบดวย
                  พืชเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัด คือ
                                   -     ขาวโพด (A202) มีเนื้อที่ 399,073  ไร หรือรอยละ 10.08 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่

                  ปลูกมาก คือ อําเภอปง อําเภอดอกคําใต อําเภอเชียงมวน และอําเภอเชียงคํา ตามลําดับ (ภาพที่ 9)  ขาวโพด
                  ถือเปนพืชเศรษฐกิจ ที่สําคัญอีกพืชหนึ่งของจังหวัด ในบางพื้นที่พบวาเกษตรกรจะทําการเพาะปลูก ปละ  2
                  ครั้ง ไดแก ขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน (พฤษภาคม–ตุลาคม) และขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูแลง (กันยายน–มีนาคม)
                  พันธุที่เกษตรกรนิยมใชเปนพันธุที่เอกชนแนะนํา เชน พันธุซีพี 888 ซีพี 301 แปซิฟค 999 ซุปเปอร และพันธุ
                  แปซิฟค 399 ผลผลิตเฉลี่ยของขาวโพดเลี้ยงสัตวในฤดูฝนคือ 909 กิโลกรัมตอไร  และขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูแลง

                  คือ  979 กิโลกรัมตอไร (สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดพะเยา, 2558) บางพื้นที่มีการปลูกพืชตามเปนพืช
                  อายุสั้นในชวงฤดูแลง   แตในป พ.ศ. 2558 ประสบปญหาภัยแลงอยางหนักจึงไมสามารถปลูกพืชตามได
                                   -     ขาวไร (A216) มีเนื้อที่ 27,879 ไร หรือรอยละ 0.70 ของเนื้อที่จังหวัด ผลผลิตที่ได

                  ใชเพื่อบริโภคในชุมชนบนพื้นที่สูง โดยจะเริ่มปลูกในชวงเดียวกับขาวโพดเลี้ยงสัตว คือ ประมาณเดือนพฤษภาคม
                  และเก็บเกี่ยวในเดือนพฤศจิกายน  -  ธันวาคม  พบไดในพื้นที่สูงเกือบทุกอําเภอ แตบริเวณที่ปลูกมากไดแก
                  อําเภอปง อําเภอเชียงคํา อําเภอเมืองพะเยา อําเภอภูกามยาว
                                    -    มันสําปะหลัง  (A204)  มีเนื้อที่  8,551  ไร  หรือรอยละ  0.22  ของเนื้อที่จังหวัด

                  บริเวณที่ปลูก  คือ  อําเภอปง  อําเภอเชียงคํา  อําเภอเมืองพะเยา  และอําเภอดอกคําใต  ตามลําดับ  (ภาพที่  10)
                  พันธุที่นิยมปลูกมาก  คือ  พันธุระยอง  60  ผลผลิตเฉลี่ย  4,015  กิโลกรัมตอไร  พื้นที่ปลูกสวนใหญจะเปนแปลง
                  ขนาดเล็กของเกษตรกรรายยอย  ซึ่งจะจําหนายผลผลิตใหกับแหลงรับซื้อที่เปนลานตากมันในพื้นที่  เพื่อทําเปน
                  มันเสนขายใหกับโรงงานแปงมันสําปะหลังนอกพื้นที่ตอไป

                                   นอกจากนั้นพื้นที่ปลูกพืชไรอื่นๆ ที่สําคัญ ไดแก ไรราง (A200) 9,786 ไร ออย (A203)
                  1,520 ไร  สับปะรด (A205) 986 ไร  ถั่วเขียว (A208) 368 ไร  ฝาย (A207)  350 ไร  ขิง (A222) 217 ไร  ถั่ว
                  เหลือง (A209)  131 ไร  ยาสูบ (A206) 126 ไร  พืชไรผสม (A201) 83 ไร  แตงโม (A220)  28 ไร
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60