Page 156 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 156

4-21





                  เขตปลูกไมผล พื้นที่ 4,976 ไร หรือรอยละ 0.44 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เขตปลูกไมยืนตน พื้นที่ 154,487 ไร

                  หรือรอยละ 13.59 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เขตทุงหญา พื้นที่ 3,942 ไร หรือรอยละ 0.35 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                      2.4) เขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา มีพื้นที่ 2,039 ไร หรือรอยละ 0.18 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                      2.5) เขตพื้นที่คงสภาพปาไมนอกเขตปาไมตามกฎหมาย มีพื้นที่ 61,859 ไร

                  หรือรอยละ 5.44 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ประกอบดวย เขตปาสมบูรณ และเขตฟนฟูปาไม

                                3)  เขตชุมชนและสิ่งปลูกสราง มีพื้นที่ 33,776 ไร หรือรอยละ 2.97 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                 4)  เขตแหลงน้ํา มีพื้นที่ 6,587 ไร หรือรอยละ 0.58 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                 5)  เขตพื้นที่ชุมน้ํา มีพื้นที่ 2,559 ไร หรือรอยละ 0.23 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                 6)  เขตพื้นที่อื่นๆ มีพื้นที่ 1,588 ไร หรือรอยละ 0.14 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                         4.3.2 ขอเสนอแนะ

                             1)  ขอเสนอแนะดานนโยบาย
                              1.1) ปรับปรุงและฟนฟูความอุดมสมบูรณของดินเพื่อเกษตรกรรม  แนวทาง

                  ดําเนินการตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน  พ.ศ. 2551  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของดิน

                  รวมทั้งเปนการเพิ่มผลผลิตการเกษตรใหสูงขึ้น  เพราะในสภาวการณปจจุบันพื้นที่เกษตรกรรมของไทย
                  ประสบปญหาความเสื่อมโทรมของดินเพราะขาดการอนุรักษดินและน้ํา  ทําใหเกิดการชะลางพังทลาย

                  ของดิน ตลอดจนดินขาดความอุดมสมบูรณไมเหมาะสมตอการปลูกขาว

                                1.2) ในระยะยาวผลักดันใหมีการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมใหมีผลในทางปฏิบัติ
                  อยางจริงจัง เพราะการจัดหาที่ดินทํากินใหแกเกษตรกรดวยการปฏิรูปที่ดินถือวา เปนแนวทางสําคัญที่จะ

                  แกปญหาเกษตรกรรมของไทยอยางยั่งยืน

                                สําหรับแนวทางการพัฒนาพื้นที่ในเขตปลูกพืชไร ไมผลและไมยืนตนนั้น ควรมีการจัดการ
                  พื้นที่เพื่อใหเหมาะสมกับการผลิตพืช ในแตละเขตการใชที่ดิน โดยคํานึงถึงขอเสนอแนะและมาตรการตางๆ

                  ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว  เปนการสงเสริมและสนับสนุนเกษตรกรในการเพิ่มผลผลิต

                  และลดตนทุนการผลิต รวมทั้งพัฒนาเพื่อเพิ่มคุณภาพพืชใหมีมากยิ่งขึ้น โดยมีขอเสนอแนะเพิ่มเติมดังนี้

                             2)  ขอเสนอแนะดานการวิจัยและพัฒนาเพื่อนําไปสูการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
                                2.1) ควรสงเสริมและถายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสมใหเกษตรกรดําเนินการผลิต

                  ตามระบบเกษตรที่ดี โดยการอบรมแนะนําความรูตางๆ เชน วิธีการปลูก การใสปุย การจัดการการดูแลรักษา

                  การเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวใหมีความเหมาะสมในแตละพื้นที่ในเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ

                  อยางครบวงจร










                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาคลองเทพา
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161