Page 18 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองนาทวี
P. 18

2-4






                  2.3  สภาพภูมิประเทศ


                       สภาพภูมิประเทศของลุมน้ําสาขาคลองนาทวีสามารถแบงไดเปน 3 ลักษณะ คือ พื้นที่ตนน้ําซึ่ง
                  เปนพื้นที่ภูเขาสูงทางดานทิศใต ทิศตะวันตกเฉียงใต และตะวันออกเฉียงใต ถัดมาเปนพื้นที่กลางน้ําอยู

                  บริเวณตอนกลางของลุมน้ําเปนพื้นที่ราบฝงซายและฝงขวาของคลองนาทวี ซึ่งเปนพื้นที่เกษตรกรรม

                  ในปจจุบัน และพื้นที่ตอนลางสุด ดานติดทะเลจัดเปนพื้นที่ปลายน้ํา ซึ่งมีลักษณะเปนพื้นที่ราบตาม
                  แนวชายฝงทะเลในเขต อําเภอจะนะ และอําเภอเมืองสงขลา สวนใหญเปนพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง

                  ราบเรียบ มีเนื้อที่คิดเปนรอยละ 37.98 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา รองลงมาเปนพื้นที่สูงชัน พื้นที่ลูกคลื่นลอน

                  ลาดเล็กนอย พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน และพื้นที่เนินเขา โดยคิดเปนรอยละ 32.50
                  9.19 9.07 4.06   และ 1.30 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา  ตามลําดับ และพื้นที่อื่นๆ มีเนื้อที่รอยละ 5.90 ของ

                  พื้นที่ลุมน้ําสาขา มีความสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 1-757 มีคลองนาทวีเปนลําน้ําสายหลัก มี

                  ตนกําเนิดจากเขาสันกาลาคีรีทางดานทิศใตของลุมน้ํา ซึ่งเปนแนวเขตชายแดนกับประเทศมาเลเซีย
                  ไหลผาน อําเภอนาทวี อําเภอจะนะ ลงสูคลองน้ําเค็มและรวมกับคลองสะกอม กอนไหลลงสูอาวไทย

                  ทางดานทิศเหนือของลุมน้ําที่บานปากบาง อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รวมความยาวประมาณ 80

                  กิโลเมตร มีคลองสาขาที่สําคัญ ไดแก คลองนาทับ คลองจะนะ คลองคู คลองทุงนาใน คลองทราย

                  คลองใหญ คลองทับชาง และคลองเครียว (รายละเอียดตารางที่ 2-1)

                  ตารางที่  2-1  ลักษณะภูมิประเทศลุมน้ําสาขาคลองนาทวี

                         ลักษณะสภาพพื้นที่       ความลาดชัน     ชนิดพืชพรรณสวนใหญ         เนื้อที่
                                                   (รอยละ)                              ไร     รอยละ
                  พื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ   0-2   นาขาว ไมยืนตน ไมผล    372,714   37.98
                                                             ทุงหญา และปาไม

                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย      2-5     ไมยืนตน ไมผล ทุงหญา    90,186    9.19
                                                             และปาไม
                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด             5-12     ไมยืนตน ไมผล ทุงหญา    88,988    9.07
                                                             และปาไม
                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน             12-20    ไมยืนตน ไมผล และปาไม   39,862    4.06
                  พื้นที่เนินเขา                    20-35    ไมยืนตน และปาไม        12,776     1.30
                  พื้นที่สูงชันหรือพื้นที่ลาดชันเชิงซอน   >35   ไมยืนตน ไมผล ทุงหญา    318,954   32.50

                                                             และปาไม
                  พื้นที่อื่นๆ เชน พื้นที่ปา พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง พื้นที่น้ํา   57,923   5.90
                                                 รวม                                   981,403   100.00
                  ที่มา : จากการวิเคราะห











                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23