Page 36 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองบำบัง
P. 36
2-19
ตารางที่ 2-14 พื้นที่ปลูก พื้นที่เก็บเกี่ยวและผลผลิตลองกอง ในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาคลองบ าบัง
ปีการผลิต 2555 และ 2556
จังหวัด พื้นที่ปลูก (ไร่) อัตราการเปลี่ยนแปลง พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) อัตราการเปลี่ยนแปลง ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) อัตราการเปลี่ยนแปลง
อ าเภอ 2555 2556* (ร้อยละ) 2555 2556* (ร้อยละ) 2555 2556* (ร้อยละ)
สตูล
ควนกาหลง 1,664 1,679 0.90 1,631 1,391 -14.71 1,016 1,144 12.60
ควนโดน 1,526 1,500 -1.70 1,526 1,268 -16.91 155 666 329.68
เมืองสตูล 263 260 -1.14 228 187 -17.98 700 1,820 160.00
รวม/เฉลี่ย 3,453 3,439 -0.41 3,385 2,846 -15.92 624 1,210 94.01
หมายเหตุ : *เป็นข้อมูลเบื้องต้น
ที่มา : 1. ส้านักงานเกษตรจังหวัดสตูล (2555)
2. กรมส่งเสริมการเกษตร (2556)
(2) ด้านปศุสัตว์
ในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองบ้าบัง พ.ศ. 2555 จังหวัดสตูล มีจ้านวนโคเนื้อทั้งสิ้น
4,110 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 1,217 ครัวเรือน โคนม 4 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 3 ครัวเรือน กระบือ 31 ตัว
เกษตรกรผู้เลี้ยง 9 ครัวเรือน สุกร 818 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 24 ครัวเรือน ไก่ 376,318 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง
4,346 ครัวเรือน เป็ด 40,325 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 1,568 ครัวเรือน แพะ 6,733 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง
1,037 ครัวเรือน แกะ 135 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 19 ครัวเรือน (ตารางที่ 2-15) พบว่า สัดส่วนของจ้านวน
สัตว์เลี้ยงต่อจ้านวนครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ทั้งลุ่มน้้าสาขา เกษตรกรส่วนใหญ่มีการเลี้ยงสัตว์
เพื่อการบริโภคหรือใช้งาน ส้าหรับการเลี้ยงโคนมเป็นการเลี้ยงเพื่อการค้า (เป็นไปตามเกณฑ์ก้าหนด
จ้านวนสัตว์แต่ละชนิดแยกตามประเภทการเลี้ยงสัตว์แบบเป็นการค้าและไม่เป็นการค้า) (ตาราง
ผนวก ก)
แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองบ้าบัง