Page 184 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองปะเหลียน
P. 184

4-23





                  เขตปลูกไม้ผล พื้นที่ 520 ไร่ หรือร้อยละ 0.08 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา เขตปลูกไม้ยืนต้น พื้นที่ 102,645 ไร่

                  หรือร้อยละ 15.68 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา เขตทุ่งหญ้า พื้นที่ 6,005 ไร่ หรือร้อยละ 0.92 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                      2.4) เขตปศุสัตว์ มีพื้นที่ 51 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                      2.5) เขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้้า มีพื้นที่ 13,686 ไร่ หรือร้อยละ 2.09 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                      2.6) เขตพื้นที่คงสภาพป่าไม้นอกเขตป่าไม้ตามกฎหมาย มีพื้นที่ 17,248 ไร่

                  หรือร้อยละ 2.64 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา ประกอบด้วย เขตป่าสมบูรณ์ และเขตฟื้นฟูป่าไม้

                                3)  เขตชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง มีพื้นที่ 17,843 ไร่ หรือร้อยละ 2.72 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                 4)  เขตแหล่งน้้า มีพื้นที่ 20,391 ไร่ หรือร้อยละ 3.12 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                 5)  เขตพื้นที่ชุ่มน้้า มีพื้นที่ 1,775 ไร่ หรือร้อยละ 0.27 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                 6)  เขตพื้นที่อื่นๆ มีพื้นที่ 4,124 ไร่ หรือร้อยละ 0.63 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา                                                3-44

                        4.3.2  ข้อเสนอแนะ
                             1)  ข้อเสนอแนะด้านนโยบาย

                              1.1) ปรับปรุงและฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดินเพื่อเกษตรกรรม  แนวทาง

                  ด้าเนินการตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน  พ.ศ.  2551  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของดิน
                  รวมทั้งเป็นการเพิ่มผลผลิตการเกษตรให้สูงขึ้น  เพราะในสภาวการณ์ปัจจุบันพื้นที่เกษตรกรรมของไทย

                  ประสบปัญหาความเสื่อมโทรมของดินเพราะขาดการอนุรักษ์ดินและน้้า  ท้าให้เกิดการชะล้างพังทลาย

                  ของดิน ตลอดจนดินขาดความอุดมสมบูรณ์ไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว
                                1.2) ในระยะยาวผลักดันให้มีการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้มีผลในทางปฏิบัติ

                  อย่างจริงจัง เพราะการจัดหาที่ดินท้ากินให้แก่เกษตรกรด้วยการปฏิรูปที่ดินถือว่า เป็นแนวทางส้าคัญที่จะ

                  แก้ปัญหาเกษตรกรรมของไทยอย่างยั่งยืน

                                ส้าหรับแนวทางการพัฒนาพื้นที่ในเขตปลูกพืชไร่ ไม้ผลและไม้ยืนต้นนั้น ควรมีการจัดการ
                  พื้นที่เพื่อให้เหมาะสมกับการผลิตพืช ในแต่ละเขตการใช้ที่ดิน โดยค้านึงถึงข้อเสนอแนะและมาตรการต่างๆ

                  ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว  เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกรในการเพิ่มผลผลิต  และ

                  ลดต้นทุนการผลิต รวมทั้งพัฒนาเพื่อเพิ่มคุณภาพพืชให้มีมากยิ่งขึ้น โดยมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมดังนี้

                             2)  ข้อเสนอแนะด้านการวิจัยและพัฒนาเพื่อน าไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
                                2.1) ควรส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสมให้เกษตรกรด้าเนินการผลิต

                  ตามระบบเกษตรที่ดี โดยการอบรมแนะน้าความรู้ต่างๆ เช่น วิธีการปลูก การใส่ปุ๋ย การจัดการการดูแลรักษา

                  การเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวให้มีความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่ในเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจ
                  อย่างครบวงจร








                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189