Page 18 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองละงู
P. 18
2-3
2.3 สภาพภูมิประเทศ
สภาพภูมิประเทศของลุ่มน้้าสาขาคลองละงูทิศตะวันออกเป็นเทือกเขาที่สูง โดยเทือกเขาที่
ส้าคัญคือ เทือกเขาบรรทัดซึ่งเป็นแหล่งต้นน้้าล้าธารที่ส้าคัญ มีพื้นที่ราบลุ่มน้้าอยู่ทางทิศตะวันตก
ล้าน้้าไหนจากทิศเหนือลงสู่ทิศใต้ตามระดับความสูงของพื้นที่ แล้วไหลลงสู่ทะเลอันดามัน โดยมี
คลองละงูเป็นล้าน้้าสายส้าคัญซึ่งมีล้าน้้าสาขาต่างๆ ใหลลงคลองละงูรวม 3 สาขา คือ คลองล้าโดน1
คลองล้าโดน 2 และคลองละงูตอนบน ลุ่มน้้าสาขาคลองละงูส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สูงชัน มีเนื้อที่คิดเป็น
ร้อยละ 59.08 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา รองลงมาเป็นพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ พื้นที่ลูกคลื่น
ลอนลาดเล็กน้อย พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน และพื้นที่เนินเขา โดยคิดเป็นร้อยละ
16.10 12.36 5.22 2.93 และ 1.37 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา ตามล้าดับ และพื้นที่อื่นๆ มีเนื้อที่ร้อยละ 2.94
ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา มีความสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ13-818 เมตร (รายละเอียดตารางที่ 2-1)
ตารางที่ 2-1 ลักษณะภูมิประเทศลุ่มน้ าสาขาคลองละงู
ความลาดชัน เนื้อที่
ลักษณะสภาพพื้นที่ ชนิดพืชพรรณส่วนใหญ่
(ร้อยละ) ไร่ ร้อยละ
พื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ 0-2 นาข้าว ไม้ยืนต้น ไม้ผล 84,851 16.10
และป่าไม้
พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย 2-5 นาข้าว ไม้ยืนต้น ไม้ผล 65,147 12.36
และป่าไม้
พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด 5-12 ไม้ยืนต้น และป่าไม้ 27,529 5.22
พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน 12-20 ไม้ยืนต้น และป่าไม้ 15,497 2.93
พื้นที่เนินเขา 20-35 ไม้ยืนต้น และป่าไม้ 7,205 1.37
พื้นที่สูงชันหรือพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน >35 ไม้ยืนต้น และป่าไม้ 311,437 59.08
พื้นที่อื่นๆ เช่น พื้นที่ป่า พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่น้้า 15,482 2.94
รวม 527,148 100.00
ที่มา : จากการวิเคราะห์
แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองละงู