Page 120 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองละงู
P. 120

3-57





                                (1)  การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทเดียวกันในหน่วยที่ดินต่างกัน

                                      เขตเกษตรน ้ำฝน

                                      ยำงพำรำ ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 26 32 34 45B 51C และ 53B พบว่า มีระดับ

                  ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2) เช่นเดียวกัน แต่ในหน่วยที่ดินที่ 32 34 45B

                  และ 51C มีแนวโน้มว่าจะได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปรสูงกว่า
                  หน่วยที่ดินที่ 26 และ 53B

                                      ปำล์มน ้ำมัน  ปลูกในหน่วยที่ดินที่ 26 32 34 และ 45 พบว่า ในหน่วยที่ดินที่ 26 และ

                  34 มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับสูง (S1) ส้าหรับในหน่วยที่ดินที่ 32 และ 45  มีระดับ
                  ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2) แต่ในหน่วยที่ดินที่ 26 และ 34 มีแนวโน้มว่าจะ

                  ได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปรสูงกว่าหน่วยที่ดินที่ 32 และ 45

                                (2)  การใช้ประโยชน์ที่ดินต่างประเภทกันในหน่วยที่ดินเดียวกัน

                                      เขตเกษตรน ้ำฝน

                                      หน่วยที่ดินที่ 26    เกษตรกรปลูกยางพารา และปาล์มน้้ามัน มีระดับความ
                  เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2) และสูง (S1) ตามล้าดับ ดังนั้นควรแนะน้าให้

                  เกษตรกรเลือกปลูกปาล์มน้้ามัน เนื่องจากจะได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อ

                  ต้นทุนผันแปรสูงกว่าการปลูกยางพารา
                                      หน่วยที่ดินที่ 32    เกษตรกรปลูกยางพารา และปาล์มน้้ามัน มีระดับความ

                  เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2) เช่นเดียวกัน ดังนั้นควรแนะน้าให้เกษตรกรเลือก

                  ปลูกปาล์มน้้ามัน เนื่องจากจะได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนผันแปร

                  สูงกว่าการปลูกยางพารา

                                      หน่วยที่ดินที่ 34    เกษตรกรปลูกยางพารา และปาล์มน้้ามัน มีระดับความ
                  เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับปานกลาง (S2) และสูง (S1) ตามล้าดับ ดังนั้นควรแนะน้าให้

                  เกษตรกรเลือกปลูกปาล์มน้้ามัน เนื่องจากจะได้รับรายได้เหนือต้นทุนผันแปรและอัตราส่วนรายได้ต่อ

                  ต้นทุนผันแปรสูงกว่าการปลูกยางพารา

                                (3)  ราคาคุ้มทุนและปริมาณผลผลิตคุ้มทุน

                                      เขตเกษตรน ้ำฝน

                                      ข้ำวนำปี พบว่า การปลูกในหน่วยที่ดินที่ 6  เกษตรกรจะได้รับปริมาณผลผลิต

                  และรายได้ที่คุ้มค่าต่อการลงทุน เนื่องจากปริมาณผลผลิตและราคาผลผลิต ณ ระดับคุ้มทุนอยู่ในระดับ
                  ต่้ากว่าปริมาณผลผลิตและราคาผลผลิตที่เกษตรกรได้รับ





                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองละงู
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125