Page 140 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 140

3-72





                        3.2.2  การประเมินคุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจ

                             การประเมินคุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจ เปนการวิเคราะหสภาพการผลิตพืชแตละหนวยที่ดิน

                  โดยพิจารณาจากการจัดการที่ดิน ปริมาณเงินลงทุนและรายไดเหนือตนทุนผันแปรจากการใช
                  ประโยชนที่ดิน ขอมูลที่เปนตัวแทนในการวิเคราะหเปนขอมูลจากลุมน้ําสาขาคลองปะเหลียนและลุมน้ําสาขา

                  ภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง ปการผลิต 2556/57  โดยกลุมวางแผนทรัพยากรน้ําเพื่อการพัฒนาที่ดิน
                  กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ผลการประเมินคุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจนําไป

                  พิจารณารวมกับองคประกอบอื่นๆ เชน ขอมูลของหนวยราชการที่เกี่ยวของตลอดจนผลการประเมิน
                  คุณภาพที่ดินดานกายภาพ เพื่อกําหนดทางเลือกที่เหมาะสมของประเภทการใชประโยชนที่ดินในแตละ

                  หนวยที่ดิน แลวนําผลลัพธที่ไดมาพิจารณาประกอบการวางแผน การใชที่ดิน ผลการวิเคราะหจําแนกตาม

                  ประเภทการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ําบางนรา ดังนี้
                             1) การประเมินตนทุนและรายไดจากการผลิตพืช

                                เขตเกษตรน้ําฝน  สํารวจจํานวน 10 หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 6 26 32 34 39 43

                  26B 32B 34B และ 53C ดังนี้

                                ขาวเจานาป สํารวจจํานวน 1 หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 6 เกษตรกรปลูกขาวเจานาป
                  (นาดํา) พันธุเล็บนกปตตานี ผลผลิตเฉลี่ย 398.50 กิโลกรัมตอไร รายได 5,690.58 บาทตอไร ตนทุนผันแปร

                  3,840.87 บาทตอไร รายไดเหนือตนทุนผันแปร 1,849.71 บาทตอไร และอัตราสวนของรายไดตอ

                  ตนทุนผันแปร 1.48 จึงสงผลใหระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูก

                  ขาวเจานาป (นาดํา) พันธุเล็บนกปตตานี อยูในระดับเล็กนอย (S3)
                                ยางพารา สํารวจจํานวน 4  หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 26B 32B  34B  และ 53C

                  พันธุที่ปลูกเปนพันธุ RRIM 600 ซึ่งเกษตรกรสวนใหญในพื้นที่ลุมน้ําจะเก็บผลผลิตขายในรูปน้ํายางพารา

                  โดยจะคํานวณเปนน้ําหนักเนื้อยางแหง ยางพาราเปนไมยืนตนที่มีอายุการผลิตเกินกวา 1 ป การวิเคราะห
                  ครั้งนี้กําหนดใหยางพารามีรอบอายุการผลิต 25 ป การพิจารณาผลตอบแทนการผลิต จึงใชมูลคา

                  ปจจุบันของรายไดเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด (NPV) อัตราสวนของผลไดตอตนทุนผันแปร (B/C Ratio)

                  ตลอดจนนําตนทุนผันแปรและรายไดที่คํานวณเปนคาปจจุบันมาพิจารณารวมดวย ผลการวิเคราะห
                  พบวาการปลูกยางพารา ในหนวยที่ดินที่ 26B 32B 34B และ 53C ผลผลิตเฉลี่ยระหวาง 221.38 - 266.80 กิโลกรัมตอไร

                  รายไดระหวาง 9,446.29 – 10,674.69 บาทตอไร  ตนทุนผันแปรระหวาง 6,347.13 –  6,533.28 บาทตอไร

                  รายไดเหนือตนทุนผันแปร 2,913.01 – 4,327.56 บาทตอไร และอัตราสวนของรายไดตอตนทุนผันแปร

                  ระหวาง 1.45 - 1.68  จึงสงผลใหระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูก
                  ยางพารา อยูในระดับปานกลาง (S2) ทั้ง 4 หนวยที่ดิน









                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145