Page 31 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 31

2-15






                  ตารางที่  2-7  การถือครองที่ดิน และการใชที่ดินของเกษตรกรในพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก พ.ศ.2555


                                                                            เนื้อที่
                                         รายการ                                              รอยละ
                                                                        (ไร/ครัวเรือน)
                  การถือครองที่ดิน                                          16.30            100.00

                  การใชที่ดิน

                         - ที่อยูอาศัย                                         1.62              9.94

                         - ที่นา                                            0.84              5.15

                         - ที่ไร                                           0.09              0.55
                         - ที่ไมผล/ไมยืนตน                               13.37            82.03

                         - อื่น ๆ                                           0.38              2.33

                             รวม                                            16.30            100.00

                  ที่มา : ดัดแปลงขอมูลจากศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีประจําตําบล กรมสงเสริมการเกษตร (2555)


                             2)  สภาพการผลิตทางการเกษตรที่สําคัญ

                                (1)  ดานพืช การผลิตพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ ในพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก ไดแก
                  ขาว ยางพารา ปาลมน้ํามัน ทุเรียน มังคุด เงาะ และลองกอง มีสภาพการผลิต ดังนี้  (ตารางที่ 2-8 ถึง

                  ตารางที่ 2-14)

                                      ขาวนาป   ปการผลิต 2554/55  พื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก  จังหวัดนราธิวาส
                  พื้นที่ปลูกขาวนาป 25,969 ไร และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 399 กิโลกรัมตอไร เปรียบเทียบกับพื้นที่ปลูก

                  24,435  ไร และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 438 กิโลกรัมตอไร ของปการผลิต 2555/56 พบวาพื้นที่ปลูก

                  ลดลงรอยละ 5.91 สวนผลผลิตเพิ่มขึ้นรอยละ 9.72 สําหรับราคาขาวเปลือกเจาเฉลี่ยของภาคใตที่

                  เกษตรกรขายไดสําหรับขาวเปลือกเจาความชื้น 14-15 เปอรเซ็นต ราคาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจากเกวียนละ 11,217 บาท
                  (11.22 บาทตอกิโลกรัม) ในป 2555 เปนราคาเกวียนละ  13,213  บาท (13.21 บาทตอกิโลกรัม) ในป 2556

                  (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2555 - 2556) หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 17.79 เนื่องมาจากนโยบายแทรกแซง

                  ราคาของรัฐบาลที่ยกระดับราคาใหสูงขึ้น ดวยการกําหนดราคารับจํานําสูงนําราคาตลาด


















                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36