Page 18 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 18
2-4
2.3 สภาพภูมิประเทศ
สภาพภูมิประเทศของลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลกแบงไดเปน 3 ลักษณะ คือ พื้นที่ตนน้ํา ไดแก
พื้นที่ดานทิศตะวันตกเฉียงใตของลุมน้ํา โดยเฉพาะดานทิศตะวันตกของน้ําแมน้ําโกลกในเขต อําเภอแวง
และอําเภอสุไหงโกลก เปนพื้นที่ปาตนน้ําในพื้นที่ภูเขาสูง ถัดมาเปนพื้นที่กลางน้ํา ซึ่งเปนพื้นที่ราบ
ฝงซายของแมน้ําโกลก สวนใหญเปนสวนยางปาพรุและนาขาว มีชุมชนที่สําคัญคือ ชุมชน อําเภอสุไหงโกลก
สวนพื้นที่ปลายน้ําที่ตอเนื่องจากพื้นที่กลางน้ําลงไปจนถึงจุดบรรจบแมน้ําบางนราเปนพื้นที่ราบลุม
อยูในเขตโครงการสงน้ําและบํารุงรักษามูโนะ ซึ่งเปนพื้นที่ ปลูกขาวที่สําคัญของลุมน้ําโกลก สวนใหญ
เปนพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่คิดเปนรอยละ 33.51 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา รองลงมาเปนพื้นที่
ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ พื้นที่สูงชัน พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน และพื้นที่เนินเขา
โดยคิดเปนรอยละ 23.88 19.49 11.66 2.35 และ 1.68 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ตามลําดับ และพื้นที่อื่นๆ
มีเนื้อที่รอยละ 7.43 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา มีความสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 1-1,056 เมตร
ลุมน้ําโกลกมีลักษณะแบบขนนก มีแมน้ําโกลกเปนลําน้ําสายหลัก เปนแมน้ําแบงเขตแดนระหวาง
ประเทศไทยและมาเลเซียระหวางเขตจังหวัดนราธิวาสกับรัฐกลันตัน มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ
120 กิโลเมตร มีตนกําเนิดอยูบนเทือกเขาสันกาลาคีรีในพื้นที่ อําเภอแวง ไหลจากทิศใตขึ้นไปทิศเหนือ
ผานพื้นที่ อําเภอแวง อําเภอสุไหงโกลก ไปรวมกับแมน้ําบางนราที่ อําเภอตากใบ กอนที่จะไหลออกสูทะเล
ดานอาวไทยที่บานตาบา อําเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส คลองสาขาของแมน้ําโกลกในฝงประเทศไทย
ประกอบดวยคลองขนาดเล็กสายสั้นๆ อยูทางดานทิศตะวันตกของแมน้ําโกลก เชน คลองแวง
คลองมาแย คลองโตะแดง เปนตน นอกจากนี้ยังมีคลองเชื่อมระหวางแมน้ําโกลกกับแมน้ําบางนรา
กลุมคลองเหลานี้อยูทางดานทิศเหนือของลุมน้ํา เชน คลองชลประทาน คลองปูยู (รายละเอียด
ตารางที่ 2-1)
กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน