Page 169 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 169

ผนวก ข-2





                                   การประเมินความเหมาะสมของที่ดินทางดานเศรษฐกิจ



                  ขั้นตอนการประเมินคุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจ

                         1.   การวิเคราะหและประเมินรายไดเหนือตนทุนผันแปร


                             เปนการวิเคราะหรายไดเบื้องตนจากการผลิตวาเกษตรกรจะไดกําไร หรือขาดทุนขั้นตนเทาไร
                  โดยนํามูลคาผลผลิตหรือรายไดทั้งหมด (ปริมาณผลผลิต * ราคาผลผลิต) หักดวยตนทุนผันแปร

                   ซึ่งเปนคาใชจายตางๆ ในการนําปจจัยการผลิตมาใช ทั้งที่เปนคาใชจายเงินสดและไมเปนเงินสด
                  ที่เกิดขึ้นเมื่อดําเนินกิจกรรมการผลิต ตนทุนผันแปร เปนตนทุนที่มีความสัมพันธโดยตรงกับผลผลิต

                  ในชวงระยะเวลาหนึ่งและคาใชจายสวนนี้จะไมมีถายังไมไดลงมือกระทํากิจกรรมการผลิต

                  ตนทุนผันแปร ดังกลาว ไดแก คาวัสดุ คาแรงงาน เปนตน ซึ่งรายไดขั้นตนเปนสิ่งแสดงความพอใจ
                  ที่เกษตรกรจะไดรับเมื่อเลือกผลิตพืชชนิดใดชนิดหนึ่ง


                         2.   การวิเคราะหและประเมินคาความเหมาะสมดานเศรษฐกิจ สําหรับประเภทการใชประโยชนที่ดิน

                             เปนการวิเคราะหและประเมินโดยการจัดชั้นความเหมาะสมรวมดานเศรษฐกิจ S1 S2 S3
                  และ N สําหรับประเภทการใชประโยชนที่ดิน (S1 หมายถึง ความเหมาะสมสูง S2 หมายถึง ความเหมาะสม

                  ปานกลาง S3 หมายถึง ความเหมาะสมเล็กนอย และ N หมายถึง ไมมีความเหมาะสม) จากคาของตัวแปรตางๆ

                  อาทิ รายได ตนทุนผันแปร รายไดเหนือตนทุนผันแปรและอัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปรทั้งหมด
                  นํามาจัดชั้นความเหมาะสมของแตละตัวแปร แลวหาคาความเหมาะสมรวมของทุกตัวแปร

                  เพื่อทราบถึงการใชประโยชนที่ดินประเภทไหน ในหนวยที่ดินใดมีความเหมาะสมที่จะทําการผลิต

                  มากนอยเทาไร โดยวิธีการ

                             2.1  หาคาสูงสุด (Maximum หรือ Max) และคาต่ําสุด (Minimum หรือ Min) ของตนทุนผันแปร
                  รายได รายไดเหนือตนทุนผันแปรและอัตราสวนรายไดตอการลงทุนเฉลี่ยตอไร

                             2.2  หาคา IR (Interval Range) ของตนทุนผันแปร รายได รายไดเหนือตนทุนผันแปร

                  และอัตราสวนรายไดตอการลงทุนเฉลี่ยตอไร

                             2.3  กําหนดชั้นความเหมาะสมของตัวแปรทั้ง 4 ชนิด ตนทุนผันแปร  (VC)  รายได  (I)
                  รายไดเหนือตนทุนผันแปร  (RVC)  และอัตราสวนรายไดตอการลงทุนเฉลี่ยตอไร (BC)  จากคา

                  Max  Min และ IR (ตารางผนวก ข-1)
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174