Page 104 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 104

3-64





                             3.1.2.4  น้ําใตดิน

                                    ก) แหลงน้ําใตดิน จากขอมูลธรณีสัณฐานมาตราสวน 1:1,000,000 กรมทรัพยากรธรณี

                  (2556) นํามาวิเคราะหชั้นน้ําที่พบในลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก รายละเอียดดังนี้

                                       (1) ชั้นหินอุมน้ําตะกอนน้ําพา (Floodplain  Deposits  Aquifers  :  Qfd)
                  ประกอบดวยกรวดทรายทรายแปงและดินเหนียวโดยชั้นน้ําบาดาลจะเก็บอยูในชองระหวางเม็ดกรวด

                  และเม็ดทรายที่สะสมตัวอยูในที่ราบลุมน้ําหลากหรือรองน้ําเกา ใหน้ําประมาณ 2–10 ลูกบาศกเมตร/ชั่วโมง

                  ที่ระดับความลึกประมาณ 10-40 เมตร คุณภาพน้ําดี

                                       (2) ชั้นหินอุมน้ําตะกอนเศษหินเชิงเขา  (Colluvium  Aquifers  :  Qcl)
                  ประกอบดวย ดินเหนียวปนทรายคลุกเคลาปะปนดวยเศษหินแตก (rock fragments)  ที่มีลักษณะเปน

                  เหลี่ยมขนาดแตกตางกันไปตั้งแตขนาดใหญจนถึงเล็กไมมีการจัดคัดขนาดของเม็ดตะกอน ปริมาณน้ํา

                  อยูในเกณฑระหวาง 2-5 ลูกบาศกเมตร/ชั่วโมง
                                      (3) ชั้นน้ําหินแปรอายุไซลูเรียน-ดีโวเนียน (Silurian-Devonian: SDmm)

                  เปนหินที่มีอายุอยูในชวงประมาณ 438-360  ลานป ประกอบดวย หินทราย และหินควอรตไซต

                  หินชนวน หินฟลไลต และหินซีสต ซึ่งมีหินปูนแทรกสลับเปนเลนส
                                      (4) ชั้นหินอุมน้ําหินแกรนิต (Granitic  Aquifers  :  Gr) ประกอบดวย

                  หินอัคนีแทรกซอนชนิดฮอรนเบลนดแกรนิต หินมัสโคไวตและไบโอไทตแกรนิต เปนหินเนื้อแนน

                  ไดน้ํา 2 – 4  ลูกบาศกเมตร/ชั่วโมง จากแนวรอยแตกที่ความลึก 30 เมตร























                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109