Page 150 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 150

3-78





                  3.2.3  การประเมินคุณภาพที่ดินรวม

                           การประเมินคุณภาพที่ดินรวม เปนการนําผลการประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพและ

                  เศรษฐกิจมาพิจารณารวมกัน โดยนําคุณภาพที่ดินทั้งสองดานมาประเมินรวมกัน ทั้งนี้คาต่ําสุดถือเปนคา

                  ของคุณภาพที่ดินรวม การประเมินในครั้งนี้พิจารณาเฉพาะหนวยที่ดินที่มีการประเมินคุณภาพที่ดินทาง
                  เศรษฐกิจเทานั้น เพื่อใชเปนขอมูลในการตัดสินใจเสนอแนะทางเลือกการใชที่ดินหลักเกณฑในการประเมิน

                  ระหวางคุณภาพที่ดินดานกายภาพ คุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจ และคุณภาพที่ดินรวม แบงออกเปน 4 ระดับ

                             1.  มีความเหมาะสมสูง (S1)
                             2.  มีความเหมาะสมปานกลาง (S2)

                             3.  มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3)

                             4.  ไมมีความเหมาะสม (N)

                             การประเมินความเหมาะสมของที่ดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
                  ไดประเมินความเหมาะสมของที่ดินรวม ในเขตชลประทาน และเขตเกษตรน้ําฝน รายละเอียดดังนี้


                             ความเหมาะสมของที่ดินรวมเขตชลประทาน
                             ประเภทการใชที่ดินในลุมน้ําที่ใชประเมินความเหมาะสมของในลุมน้ําสาขาภาคใต

                  ฝงตะวันออกตอนลาง ในเขตชลประทาน มีเพียงพืชเดียว คือนาขาว (ตารางที่ 3-19) โดยมีรายละเอียดดังนี้

                                ขาวนาป (นาดํา) พันธุเล็บนกปตตานี พบปลูกในพื้นที่ราบเรียบ ซึ่งมีความเหมาะสม

                  ทางเศรษฐกิจที่ปลูกในหนวยที่ดินที่ 6I อยูในระดับที่เหมาะสมสูง ทั้งทางกายภาพและทางเศรษฐกิจ
                  ความเหมาะสมรวมจึงอยูที่ระดับความเหมาะสมสูงเชนกัน


                  ตารางที่ 3-19     ความเหมาะสมของที่ดินรวมสําหรับประเภทการใชประโยชนที่ดินชนิดตางๆ
                                เขตชลประทานลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง


                                                                            ระดับความเหมาะสม
                  หนวยที่ดิน      ประเภทการใชประโยชนที่ดิน
                                                                  ทางกายภาพ  ทางเศรษฐกิจ        รวม
                      6I          ขาวนาป (นาดํา) พันธุเล็บนกปตตานี   S1        S1            S1


                  ที่มา : จากการวิเคราะห

                             ความเหมาะสมของที่ดินรวมเขตเกษตรน้ําฝน

                             ประเภทการใชที่ดินในลุมน้ําที่ใชประเมินความเหมาะสมของในลุมน้ําสาขาภาคใต
                  ฝงตะวันออกตอนลาง ในเขตเกษตรน้ําฝน ไดแก ขาวนาป (นาดํา) พันธุเล็บนกปตตานี ยางพารา

                  ปาลมน้ํามัน และมะพราว (ตารางที่ 3-20) โดยมีรายละเอียดดังนี้







                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155