Page 11 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 11
บทที่ 1
บทนํา
1.1 หลักการและเหตุผล
ประเทศไทยมีการพัฒนาประเทศโดยใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 1-10 ซึ่งการพัฒนา
เศรษฐกิจในระยะแรกมุงเนนและเรงฟนฟูเศรษฐกิจและสังคมจนทําใหการพัฒนาสงผลกระทบตอการผลิต
ภาคเกษตรกรรม ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมและใหบริหารทางสังคมไมเพียงพอ ภาพรวม
โดยทั่วไปจึงทําใหเศรษฐกิจของประเทศดีแตสังคมมีปญหา ประกอบกับการพัฒนาที่ไมยั่งยืน กระทั่ง
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 จึงไดนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนําทางในการพัฒนาประเทศ โดยให
ความสําคัญกับการพัฒนาที่สมดุลทั้งดานสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม ปจจุบันประเทศไทยมีการ
พัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ซึ่งยังยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยใหคนเปน
ศูนยกลางการพัฒนา โดยสรางความสมดุลของการพัฒนาในทุกมิติเพื่อบังเกิดผลในทางปฏิบัติ
โครงสรางระบบภูมิคุมกันดวยการบริหารจัดการความเสี่ยงใหพรอมรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
ทั้งภายนอกและภายในประเทศ
จากนโยบายการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ในสวนของภาคเกษตรไดให
ความสําคัญและนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในทุกระดับอยางกวางขวาง จึง
ปรากฏผลชัดเจนวาเกษตรกรสามารถกาวพนภาวะหนี้สินจากการทําการเกษตรเชิงพาณิชยสูเกษตร
ผสมผสาน ขณะที่ปจจุบันปจจัยหลักที่สรางความเสียหายใหแกผลผลิตของภาคเกษตรกรรมคือ ปญหา
ภัยธรรมชาติ ซึ่งเกิดจากการกระทําของมนุษย ไมวาจะเปนการใชที่ดินผิดประเภทสงผลใหมีการทําลายปา
ขาดการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหมีประสิทธิภาพจนเกิดภัยธรรมชาติ น้ําทวม ดินถลม ภัยแลง
ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง มีเนื้อที่ 912,512 ไร สภาพพื้นที่สวนใหญ เปนพื้นที่ราบเรียบ
หรือคอนขางราบเรียบ รอยละ 60.76 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา มีพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย รอยละ 9.63
ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา การเกษตรสวนใหญปลูกไมยืนตนและไมผล ไดแก ยางพารา และปาลมน้ํามัน
ทั้งนี้ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง จึงจําเปนตองมีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหเหมาะสม
เพื่อปองกันปญหาการเกิดภัยธรรมชาติ ดินถลม ซึ่งปจจุบันพบวาปญหาการชะลางพังทลายของดินในลุมน้ํา
ยังไมเปนปญหาใหญเนื่องจากยังคงมีสภาพปาที่สมบูรณ หากยังไมมีการจัดการที่ดีก็อาจสงผลกระทบตอ
ทรัพยากรมนุษยและทรัพยากรธรรมชาติในอนาคต
จะเห็นไดวาแผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง ซึ่งไดจัดทําและกําหนด
ขอบเขตการใชประโยชนที่ดินและเขตปาไมเพื่อการอนุรักษ ใหสอดคลองตามความเหมาะสมตาม
แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง