Page 11 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำสายบุรี
P. 11

บทที่ 1


                                                         บทนํา




                  1.1  หลักการและเหตุผล

                        ประเทศไทยมีการพัฒนาประเทศโดยใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 1-10 ซึ่งการพัฒนา

                  เศรษฐกิจในระยะแรกมุงเนนและเรงฟนฟูเศรษฐกิจและสังคมจนทําใหการพัฒนาสงผลกระทบตอการผลิต
                  ภาคเกษตรกรรม ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมและใหบริหารทางสังคมไมเพียงพอ ภาพรวม

                  โดยทั่วไปจึงทําใหเศรษฐกิจของประเทศดีแตสังคมมีปญหา ประกอบกับการพัฒนาที่ไมยั่งยืน กระทั่ง

                  แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 จึงไดนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนําทางในการพัฒนาประเทศ โดยให
                  ความสําคัญกับการพัฒนาที่สมดุลทั้งดานสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม ปจจุบันประเทศไทยมีการ

                  พัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ซึ่งยังยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยใหคนเปน

                  ศูนยกลางการพัฒนา โดยสรางความสมดุลของการพัฒนาในทุกมิติเพื่อบังเกิดผลในทางปฏิบัติ
                  โครงสรางระบบภูมิคุมกันดวยการบริหารจัดการความเสี่ยงใหพรอมรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง

                  ทั้งภายนอกและภายในประเทศ

                        จากนโยบายการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ในสวนของภาคเกษตรไดให
                  ความสําคัญและนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในทุกระดับอยางกวางขวาง จึง

                  ปรากฏผลชัดเจนวาเกษตรกรสามารถกาวพนภาวะหนี้สินจากการทําการเกษตรเชิงพาณิชยสูเกษตร

                  ผสมผสาน ขณะที่ปจจุบันปจจัยหลักที่สรางความเสียหายใหแกผลผลิตของภาคเกษตรกรรมคือ ปญหา

                  ภัยธรรมชาติ ซึ่งเกิดจากการกระทําของมนุษย ไมวาจะเปนการใชที่ดินผิดประเภทสงผลใหมีการทําลายปา
                  ขาดการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหมีประสิทธิภาพจนเกิดภัยธรรมชาติ น้ําทวม ดินถลม ภัยแลง

                        ลุมน้ําสาขาแมน้ําสายบุรี มีเนื้อที่ 2,010,108  ไร สภาพพื้นที่สวนใหญ เปนพื้นที่สูงชัน รอยละ

                  40.99 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา มีพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ รอยละ 19.07 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                  การเกษตรสวนใหญปลูกไมยืนตนและไมผล ไดแก ยางพารา และปาลมน้ํามัน ทั้งนี้ลุมน้ําสาขาแมน้ําสายบุรี
                  จึงจําเปนตองมีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหเหมาะสม เพื่อปองกันปญหาการเกิดภัยธรรมชาติ

                  ดินถลม ซึ่งปจจุบันพบวาปญหาการชะลางพังทลายของดินในลุมน้ํายังไมเปนปญหาใหญเนื่องจาก

                  ยังคงมีสภาพปาที่สมบูรณ หากยังไมมีการจัดการที่ดีก็อาจสงผลกระทบตอทรัพยากรมนุษยและ
                  ทรัพยากรธรรมชาติในอนาคต

                        จะเห็นไดวาแผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําสายบุรี ซึ่งไดจัดทําและกําหนดขอบเขตการใช

                  ประโยชนที่ดินและเขตปาไมเพื่อการอนุรักษ ใหสอดคลองตามความเหมาะสมตามศักยภาพของพื้นที่







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําสายบุรี
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16