Page 96 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 96

74





                                7.1.8  ปัญหาทรัพยากรดิน
                                จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรดินบริเวณพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาแม่น้ าป่าสักส่วนที่ 3

                  สามารถสรุปปัญหาทรัพยากรดินในพื้นที่พร้อมทั้งแนวทางการแก้ไขปัญหาไว้ดังนี้ (ภาพที่ 11)
                                        1)   ปัญหาดินทราย  ดินทรายในพื้นที่ดอน มีเนื้อที่รวม 5,954  ไร่ หรือร้อยละ

                  0.2262  ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา ดินนี้โครงสร้างดินไม่ดี มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ า ดูดซับแร่ธาตุอาหารได้น้อย

                  จึงมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 44
                                        2)  ปัญหาดินตื นปนกรวด ลูกรัง หรือเศษหิน ดินตื้นหรือความหนาของชั้นดินบน

                  น้อยกว่า 50 เซนติเมตรจากผิวดิน จนท าให้พืชที่ปลูกเจริญเติบโตผิดปกติ มีเนื้อที่รวม 639,044  ไร่ หรือร้อย

                  ละ 24.2749 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา แบ่งตามชนิดของวัสดุที่จ ากัดการชอนไชของรากพืชการเจริญเติบโตและ
                  ให้ใช้ผลผลิต แบ่งออกได้  4 กลุ่มดังนี้

                                            (1) กลุ่มดินตื้นในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ าขัง มีเนื้อที่ 39,468  ไร่ หรือร้อยละ
                  1.4992 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 25

                                            (2) กลุ่มดินตื้นถึงชั้นลูกรัง ก้อนกรวดหรือเศษหินในพื้นที่ดอนเขตดินชื้นและ
                  เขตดินแห้ง มีเนื้อที่ 168,951 ไร่ หรือร้อยละ 6.4178 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา ได้แก่ ชุดดินที่ 46 48 และ 49

                                            (3) กลุ่มดินตื้นถึงชั้นหินพื้นในพื้นที่ดอนเขตดินแห้ง มีเนื้อที่ 419,240  ไร่

                  หรือร้อยละ 15.9254 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา ได้แก่ บริเวณที่พบกลุ่มชุดดินที่ 47
                                            (4)  กลุ่มดินตื้นถึงชั้นมาร์ลในพื้นที่ดอน มีเนื้อที่ 11,385 ไร่ หรือร้อยละ

                  0.4325 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 52

                                        3)  ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า   มีเนื้อที่รวม 151,343  ไร่ หรือร้อยละ
                  5.7491 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา เนื่องจากวัตถุต้นก าเนิดดินมีแร่ธาตุอาหารตามธรรมชาติน้อย ประกอบกับ

                  เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยไม่ได้มีการปรับปรุงบ ารุงดิน
                  เท่าที่ควร ท าให้ดินเสื่อมโทรมเป็นผลให้พืชเจริญเติบโตช้า ผลผลิตตกต่ า โดยในพื้นที่ลุ่ม มีเนื้อที่ 70,310 ไร่

                  หรือร้อยละ 2.6709 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา ได้แก่ บริเวณที่พบกลุ่มชุดดินที่ 6 16 17 18 21 และ 22 ส่วนใน
                  พื้นที่ดอน มีเนื้อที่ 81,033 ไร่ หรือร้อยละ 3.0782 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา ได้แก่ บริเวณที่พบกลุ่มชุดดินที่ 29

                  35 36 37 56 และ 60

                                        4)  ปัญหาพื นที่มีความลาดชันสูง  มีเนื้อที่ประมาณ 507,630 ไร่ หรือร้อยละ
                  19.2829  ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 62 พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงและการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                  เป็นป่าไม้ไม่เหมาะที่จะน ามาใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร

                                       5)  ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง    มีเนื้อที่ 1,259,571 ไร่ หรือร้อย
                  ละ 47.8461 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา ดินที่มีธาตุอาหารและมีความสามารถในการปลดปล่อยธาตุอาหารที่เป็น

                  ประโยชน์ต่อพืชในระดับปานกลาง และมีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลานาน โดย
                  ไม่ได้มีการปรับปรุงบ ารุงดินเท่าที่ควร ท าให้ดินเสื่อมโทรมและดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ าลงได้ ดินที่มีความ

                  อุดมสมบูรณ์ปานกลางในพื้นที่ลุ่ม ได้แก่ หน่วยแผนที่ 1 4 5 7 และ 15 มีเนื้อที่ 674,188 ไร่ หรือร้อยละ
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101