Page 78 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 78

58





                  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH  5.5-6.5)  บางพื้นที่อาจพบจุดประสีหรือพบเนื้อดินที่มีผง
                  ปูนปนอยู่ในหน้าตัดดินภายในความลึก 100 เซนติเมตรจากผิวดิน

                                    ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน : ปกติไม่ค่อยมีปัญหา ในพื้นที่ท าการเกษตรติดต่อการมา
                  เป็นเวลาอาจพบชั้นดานแน่นที่เกิดการไถพรวนหรือเก็บผลผลิตและขาดแคลนน้ าในระยะที่ฝนทิ้งช่วงนาน

                                    กลุ่มชุดดินที่ 33 พบ 2  หน่วยแผนที่ มีเนื้อที่ 20,384 ไร่ หรือร้อยละ 0.7743 ของ

                  พื้นที่ลุ่มน้ าสาขา คือ
                                    หน่วยแผนที่ 33 : กลุ่มชุดดินที่ 33 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 6,020 ไร่

                  หรือร้อยละ 0.2287 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา

                                    หน่วยแผนที่ 33B : กลุ่มชุดดินที่ 33 มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 14,364
                  ไร่ หรือร้อยละ 0.5456 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา

                                17)  กลุ่มชุดดินที่ 35
                                    กลุ่มชุดดินที่ 35  เกิดจากการทับถมของตะกอนล าน้ าหรือเกิดจากการสลายตัวผุพัง

                  ของหินเนื้อหยาบ เช่น หินทราย หินแกรนิตหรือหินในกลุ่ม มีการพัฒนาการของดินมานาน พบในพื้นที่ดอน
                  เขตความชื้นดินแบบที่ดินแห้งติดต่อกันนาน สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน

                  0-12 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้ าของดินดีหรือด ีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่ า

                                    ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ าตาล สีน้ าตาลปนเทาหรือสีน้ าตาลปนแดง
                  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH 5.0-5.5) ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย ชั้นดิน

                  ล่างถัดไปอาจพบชั้นดินที่มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวปนทราย สีน้ าตาล สีน้ าตาลปนแดงหรือสีแดง ปฏิกิริยาดิน

                  เป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด   (pH  4.5-5.5)  บางพื้นที่อาจพบจุดประสีภายในความลึก 100  เซนติเมตร
                  จากผิวดิน หรือพบชั้นลูกรังหรือก้อนกรวดในช่วงความลึก 100-150 เซนติเมตรจากผิวดิน

                                    ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน : ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่ า มีเนื้อดินเป็น
                  ดินปนทราย พื้นที่ลาดชันดินง่ายต่อการถูกชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินและขาดแคลนน้ า

                                    กลุ่มชุดดินที่ 35 พบ 3  หน่วยแผนที่ มีเนื้อที่ 6,241 ไร่ หรือร้อยละ 0.2371 ของ
                  พื้นที่ลุ่มน้ าสาขา คือ

                                    หน่วยแผนที่ 35  :  กลุ่มชุดดินที่ 35 มีความลาดชัน 0-2  เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 1,712

                  ไร่ หรือร้อยละ 0.0650 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา
                                    หน่วยแผนที่ 35B : กลุ่มชุดดินที่ 35 มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 4,156

                  ไร่ หรือร้อยละ 0.1579 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา

                                    หน่วยแผนที่ 35C : กลุ่มชุดดินที่ 35 มีความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 373
                  ไร่ หรือร้อยละ 0.0142 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา

                                18)  กลุ่มชุดดินที่ 36
                                    กลุ่มชุดดินที่ 36 เกิดจากการทับถมของตะกอนล าน้ าหรือเกิดจากการสลายตัวผุพังของ

                  หินเนื้อหยาบ เช่น หินทรายหรือหินในกลุ่ม มีการพัฒนาการของดินมานาน พบในพื้นที่ดอนเขตความชื้นดิน
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83