Page 54 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 54

38





                                7.1.3 ทรัพยากรน  า
                                   ทรัพยากรน้ าบริเวณลุ่มน้ าสาขาแม่น้ าป่าสักส่วนที่ 3  มีล าน้ าธรรมชาติที่ส าคัญ 21 สาย

                  คือ คลองขมวด คลองร่องกาบแดง คลองปู่เจ้า คลองระวิง และคลองอีบาง อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัด
                  เพชรบูรณ์ คลองน้ าจุ๊ คลองกรวด คลองล ากง คลองกองทูล คลองน้ าวิ่ง คลองเมา และคลองลวง อ าเภอหนอง

                  ไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ล าจังหัน และคลองดงมะค่า อ าเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ ห้วยเล็ง ห้วยคอ

                  เลือก และห้วยพุเตย อ าเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ ล าก าเหียง ห้วยตะกรุดแฟบ คลองขนมจีน และ
                  ห้วยกะแบก อ าเภอ   ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ คลองพราก ห้วยตะค้อ และห้วยซับโศก อ าเภอชัยบาดาล

                  จังหวัดลพบุรี ล าน้ าทั้ง 21  สายไหลลงสู่แม่น้ าป่าสักซึ่งอยู่ตรงกลางของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา ระบบล าธารใน

                  พื้นที่ลุ่มน้ าสาขาแม่น้ าป่าสักส่วนที่ 3 มีแบบรูปทางน้ าแบบกิ่งไม้ (dendritic  drainage  pattern)  เป็น
                  ลักษณะโครงข่ายการระบายน้ าที่ล าน้ าย่อยไหลมารวมกันกับล าน้ าหลัก ลักษณะคล้ายกิ่งไม้หรือ

                  เส้นประสาท (ภาพที่ 7)
                                         (1) คลองขมวด  เป็นล าน้ าที่เกิดจากการไหลมารวมกันของต้นน้ าทางด้านทิศ

                  ตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ลุ่มน้ า บริเวณเทือกเขาผาแดง โดยล าน้ าทั้งหมดจะไหลมารวมกันบริเวณแม่
                  น้ าป่าสัก มีต้นน้ าที่ส าคัญคือ คลองหินส้มโงม ห้วยซับนาบาง คลองซับหมี เป็นต้นน้ าทางด้านทิศ
                  ตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ลุ่มน้ า
                                        (2) คลองอีบาง  เป็นล าน้ าที่เกิดจากการไหลมารวมกันของต้นน้ าทางด้านทิศ

                  ตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ลุ่มน้ า บริเวณเขาไผ่ และเขาหัวกลอย โดยล าน้ าทั้งหมดจะไหลมารวมกัน
                  บริเวณแม่น้ าป่าสัก มีต้นน้ าที่ส าคัญคือ คลองน้ าร้อน และคลองตีบ เป็นต้นน้ าทางด้านทิศ
                  ตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ลุ่มน้ า
                                         (3) คลองระวิง  เป็นล าน้ าที่เกิดจากการไหลมารวมกันของต้นน้ าทางด้านทิศ

                  ตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ลุ่มน้ า บริเวณเขาพระยาเจน โดยล าน้ าทั้งหมดจะไหลมารวมกันบริเวณแม่
                  น้ าป่าสัก มีต้นน้ าที่ส าคัญคือ คลองตะพานหิน เป็นต้นน้ าทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ลุ่มน้ า
                                         (4) คลองน้ าจุ๊  เป็นล าน้ าที่เกิดจากการไหลมารวมกันของต้นน้ าทางด้านทิศ
                  ตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ลุ่มน้ า บริเวณเขาพระยาฝอ และเขาหัวกลอย โดยล าน้ าทั้งหมดจะไหลมา

                  รวมกันบริเวณแม่น้ าป่าสัก มีต้นน้ าที่ส าคัญคือ คลองห้วยทราย และคลองน้ าจุ๊ เป็นต้นน้ าทางด้านทิศ
                  ตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ลุ่มน้ า
                                         (5) คลองล ากง  เป็นล าน้ าที่เกิดจากการไหลมารวมกันของต้นน้ าทางด้านทิศ
                  ตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ลุ่มน้ า บริเวณเขาพระยาฝอ และเขาน้อย โดยล าน้ าทั้งหมดจะไหลมารวมกัน

                  บริเวณแม่น้ าป่าสัก มีต้นน้ าที่ส าคัญคือ คลองหม้อ ห้วยงาช้าง ห้วยล่องเผ้า หนองเต่า ห้วยกะสัง ห้วยนา
                  ห้วยคูณ คลองชมพู คลองน้ าร้อน ห้วยชะวาน ห้วยตาอุ คลองโป่ง ห้วยจักจั่น ห้วยล ากง ห้วยซับอ้อมน้อย
                  ห้วยคอกควาย ห้วยชัน ห้วยสตูล ห้วยตลาด ห้วยสุทธิ และคลองน้ าซับ เป็นต้นน้ าทางด้านทิศ
                  ตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ลุ่มน้ า

                                        (6) คลองเมา  เป็นล าน้ าที่เกิดจากการไหลมารวมกันของต้นน้ าทางด้านทิศ
                  ตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ลุ่มน้ า บริเวณเขานกทา โดยล าน้ าทั้งหมดจะไหลมารวมกันบริเวณแม่น้ า
                  ป่าสัก มีต้นน้ าที่ส าคัญคือ คลองกรวด คลองนาทุ่ง คลองห้วยเรือ คลองเหมืองใหม่ ห้วยกาสลัก และห้วย

                  กระแส เป็นต้นน้ าทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ลุ่มน้ า
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59