Page 4 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 4

(2)




                  แผนที่ Wi-gm-clA/d ,E )  ชุดดินวังสะพุง (หน่วยแผนที่ Ws-clC/d ,E )  ที่ลาดชันเชิงซ้อน (หน่วยแผนที่
                                    4 0
                                                                          3 2
                  SC) ที่อยู่อาศัย หมู่บ้าน (หน่วยแผนที่ U) และแหล่งน ้า (หน่วยแผนที่ W)
                                ปัญหาทรัพยากรดินในพื นที่ด้าเนินการที่ส้าคัญ คือ ดินตื นถึงชั นหินพื น มีเนื อที่ 980 ไร่

                  หรือร้อยละ 12.7356 ของพื นที่ด้าเนินการ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า มีเนื อที่ประมาณ 679 ไร่ หรือร้อยละ

                  8.8239 ของพื นที่ด้าเนินการ ใช้ที่ดินไม่เหมาะสมตามศักยภาพดิน มีเนื อที่ 470 ไร่ หรือร้อยละ 6.1079 ของ
                  พื นที่ด้าเนินการ การกร่อนของดิน มีเนื อที่ มีเนื อที่ 2,132  ไร่ หรือร้อยละ 27.7062 ของพื นที่ด้าเนินการ ดิน

                  ในพื นที่ลาดชันสูง มีเนื อที่ 2,679 ไร่ หรือร้อยละ 34.8148 ของพื นที่ด้าเนินการ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปาน
                  กลาง มีเนื อที่ 315  ไร่ หรือร้อยละ 4.0936 ของพื นที่ด้าเนินการ และพื นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื อที่ 440  ไร่ หรือ

                  ร้อยละ 5.7180 ของพื นที่ด้าเนินการ

                                แนวทางการจัดการดิน พื นที่ดินตื นถึงชั นหินพื น มีการปลูกพืชบ้ารุงดิน ปรับปรุงดินด้วย
                  การไถกลบพืชปุ๋ยสดร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกใช้ปุ๋ยอินทรีย์น ้าร่วมกับปุ๋ยเคมี มีระบบการอนุรักษ์

                  ดินและน ้าที่เหมาะสม ปลูกไม้ผลและไม้ยืนต้น ขุดหลุมปลูกถึงชั นหินหรือขุดหลุมให้กว้างกว่าปกติ ปรับปรุง
                  หลุมปลูกด้วยหน้าดินที่ไม่มีเศษหินหรือก้อนหินร่วมกับปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก ใช้ปุ๋ยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูก

                  ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์  ในบริเวณดินตื นที่มีเศษหินปะปนมากและมีความลาดชันสูงไม่เหมาะสมส้าหรับการ

                  น้ามาใช้ประโยชน์ในด้านการเพาะปลูกพืช ควรปล่อยให้เป็นพื นที่ป่าธรรมชาติ หรือแหล่งต้นน ้าล้าธาร พื น
                  ที่ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า และดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ปรับปรุงดินด้วยอินทรียวัตถุ เช่น  ไถ

                  กลบตอซัง ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก หรือ พืชปุ๋ยสด ถ้าดินเป็นกรดจัดมากปรับปรุงโดยใช้วัสดุปูน และใช้ปุ๋ย

                  อินทรีย์น ้าร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มธาตุอาหารพืช การปลูกพืชไร่ควรปลูกพืชให้หมุนเวียนตลอดทั งปี มีระบบ
                  อนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสมตามสภาพพื นที่ พัฒนาแหล่งน ้าจัดระบบให้น ้าในพื นที่ปลูก ปัญหาใช้ที่ดินไม่

                  เหมาะสมตามศักยภาพดิน  เกษตรกรปลูกข้าวในที่ดินดอนจะประสบปัญหาขาดแคลนน ้า ควรก้าหนด

                  มาตรการอนุรักษ์ดินและน ้าด้วยการปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1 เพื่อกักเก็บน ้าไว้ให้เพียงพอต่อการ
                  เจริญเติบโตของข้าว และปรับปรุงบ้ารุงดินให้ดีขึ นด้วยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปัญหาการกร่อนของดิน ควร

                  ก้าหนดให้มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน ้าเพื่อป้องกันปัญหาการชะล้างพังทลายที่ท้าให้เกิดการสูญเสียหน้าดิน
                  และแร่ธาตุอาหารพืช ส่วนบริเวณพื นที่ลาดชันสูง ไม่เหมาะสมที่จะน้ามาใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร  ควร

                  ก้าหนดให้เป็นเขตอนุรักษ์ สงวนและรักษาไว้ให้คงสภาพเป็นป่าตามธรรมชาติ เป็นแหล่งต้นน ้าล้าธาร

                  บริเวณป่าเสื่อมโทรมควรปลูกป่าทดแทนเพื่อรักษาสมดุลนิเวศธรรมชาติ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9