Page 183 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 183

132


                                ค่าวิเคราะห์ดิน
                                 ความลึก     OM       P        K      pH       BS*            CEC*

                                            (%)  (ppm)  (ppm)                  (%)     (mmol/100 g clay)
                                 0-20       1.85      19      136     6.3       -               -
                                 20-45      1.99      65      68      6.5       -               -
                                 45-85      1.07      4       40      6.2       -               -

                                 85-130     1.47      21      24      5.8       -               -
                                 130-160  0.89        3       32      5.2       -               -


                                * หมายเหตุ : ค่าวิเคราะห์จากชุดดินจัดตั้ง (กรมพัฒนาที่ดิน, 2547)


                                       ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าดีปานกลาง ดินร่วนละเอียด พบ

                  แบ่งแยกย่อยออกเป็น 1 หน่วยแผนที่ ได้แก่
                                       หน่วยแผนที่ AC-mw,fl-lA/d ,E :  ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าดี
                                                               5 0
                  ปานกลาง ดินร่วนละเอียด มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก ไม่มีการกร่อน มี

                  เนื้อที่ 50 ไร่ หรือร้อยละ 0.6498 ของพื้นที่ด าเนินการ
                                    2)  ดินตะกอนน  าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน  าค่อนข้างเลว ดินร่วนละเอียด

                  (Alluvial Complex somewhat poorly drained and fine-loamy variants : AC-spd, fl)
                                       การจ าแนกดิน : fine-loamy,  mixed,  semiactive  isohyperthermic  Aquic

                  Haplustepts.
                                       ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลว ดินร่วนละเอียด เป็นดิน

                  ลึกมาก เกิดจากการทับถมตะกอนล าน้ าที่เป็นชั้นดินสลับ พบในพื้นที่ลุ่มระหว่างเนินหรือร่องน้ า มีการ

                  พัฒนาการของดินน้อย สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบมีความลาดชัน 0-2  เปอร์เซ็นต์ การระบาย
                  น้ าของดินค่อนข้างเลว ดินมีความสามารถให้น้ าซึมผ่านได้ปานกลาง การไหลบ่าของน้ าบนผิวดินปานกลาง

                  ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติปานกลาง

                                       ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนถึงดินร่วนปนดินเหนียว  สีน้ าตาลปนเทา มีจุดประสี
                  น้ าตาลเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินประมาณ

                  5.0-6.0 ดินล่างเป็นชั้นดินสลับมีเนื้อดินเป็น ดินเหนียว และดินร่วนเหนียวปนกรวด สีแดงอมเหลือง สีน้ าตาล
                  อมเหลือง มีจุดประสีเหลือง สีน้ าตาลเข้ม และจุดประสีเทาภายในความลึก 75 เซนติเมตรจากผิวดิน ปฏิกิริยา

                  ดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินประมาณ 5.0-6.0
                                       การใช้ที่ดินในปัจจุบันใช้ปลูกข้าว ข้าวโพด มันส าปะหลัง มะขาม ยางพารา และ

                  ป่าผลัดใบรอสภาพฟื้นฟู
   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188