Page 176 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 176

127


                             7.3.5   ธรณีสัณฐานและวัตถุต้นก าเนิดดิน
                                    จากข้อมูลลักษณะทางธรณีวิทยาพื้นที่ด าเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8  ต าบลกันจุ

                  และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ต าบลสระแก้ว อ าเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์  และการศึกษาในภาคสนาม
                  พบว่า ลักษณะธรณีสัณฐานและวัตถุต้นก าเนิดดินในพื้นที่ด าเนินการ สามารถแบ่งออกได้ดังนี้

                                        1)  บริเวณตะพักล าน้ า (terrace)  เกิดจากอิทธิพลของน้ าท าให้เกิดการพัดพามา

                  ทับถมกันของตะกอน โดยมีวัตถุต้นก าเนิดดินเป็นตะกอนน้ าพา (alluvium)
                                        2)  พื้นผิวที่เหลือจากการกร่อน (erosion  surface) หรือพื้นผิวที่เหลือจากการ

                  กร่อนซอยแบ่ง (dissected  erosion  surface) วัตถุต้นก าเนิดดินเกิดจากวัตถุเคลื่อนย้ายและวัตถุตกค้าง

                  ของหินอัคนีพวกหินแกรนิต และหินตะกอนพวกหินดินดานและหินทราย
                                        3)  เนินเขาและภูเขา (hill  and  mountain)  สภาพภูมิประเทศมีความลาดชันสูง

                  บางพื้นที่มีความลาดชันสูงมาก คือ มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ได้แก่ ภูเขา และเทือกเขา หินที่พบมีทั้งหินอัคนี
                  พวกหินแกรนิต และหินตะกอน พวกหินดินดาน หินทราย หินทรายแป้ง หินปูน หินบะซอลต์  และควอร์ตไซต์

                              7.3.6  สภาพการใช้ที่ดิน
                                    จากการส ารวจสภาพการใช้ที่ดินในพื้นที่ด าเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8  ต าบลกันจุ

                  และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ต าบลสระแก้ว อ าเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่

                  เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 4,218 ไร่ หรือร้อยละ 54.8148 ของพื้นที่ด าเนินการ รองลงมาเป็นพื้นที่ป่าไม้  มีเนื้อที่
                  2,953 ไร่ หรือร้อยละ 38.3756 ของพื้นที่ด าเนินการ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง มีเนื้อที่ 316 ไร่ หรือร้อยละ

                  4.1065 ของพื้นที่ด าเนินการ พื้นที่แหล่งน้ า มีเนื้อที่ 124 ไร่ หรือร้อยละ 1.6114 ของพื้นที่ด าเนินการ และ

                  พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 84 ไร่ หรือร้อยละ 1.0917 ของพื้นที่ด าเนินการ สามารถสรุปได้ดังนี้  (ตารางที่ 11
                  และภาพที่ 27)

                                        1)  ข้าว มีเนื้อที่ 570 ไร่ หรือร้อยละ 7.4074 ของพื้นที่ด าเนินการ
                                        2)  พืชไร่ มีเนื้อที่ 2,252  ไร่ หรือร้อยละ 29.2658  ของพื้นที่ด าเนินการ

                  ประกอบด้วย ข้าวโพด อ้อย มันส าปะหลัง และถั่วเขียว
                                        3)  ไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 695  ไร่ หรือร้อยละ 9.0318  ของพื้นที่ด าเนินการ

                  ประกอบด้วย ยางพารา ปาล์มน้ ามัน ยูคาลิปตัส สัก และประดู่

                                        4)  ไม้ผล มีเนื้อที่ 542   ไร่ หรือร้อยละ 7.0435   ของพื้นที่ด าเนินการ
                  ประกอบด้วย มะม่วง มะขาม มะขามสลับกับมันส าปะหลัง และมะขามสลับกับมะม่วง

                                        5)  พืชผัก มีเนื้อที่ 2 ไร่ หรือร้อยละ 0.0260 ของพื้นที่ด าเนินการ ประกอบด้วย

                  แตงกวา
                                        6)  ปศุสัตว์ มีเนื้อที่ 157   ไร่ หรือร้อยละ 2.0403 ของพื้นที่ด าเนินการ

                  ประกอบด้วยทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ปีก
                                        7)  พื้นที่ป่าไม้ มีเนื้อที่ 2,953 ไร่ หรือร้อยละ 38.3756  ของพื้นที่ด าเนินการ

                  ประกอบด้วย ป่าผลัดใบรอสภาพฟื้นฟู และป่าผลัดใบสมบูรณ์
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181