Page 122 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 122

90





                                7.2.6  ลักษณะทางธรณีวิทยา
                                   ลักษณะทางธรณีวิทยาในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าคลองกระทือ จังหวัดเพชรบูรณ์

                  (อภิศักดิ์, 2541) แสดงไว้ในภาพที่ 19 โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                               Qa : หินตะกอนและหินชั้น ได้แก่ กรวด ทราย ทรายแป้งและดินเหนียว

                                               Qt  :  หินตะกอนและหินชั้น ได้แก่ กรวด ทราย ทรายแป้ง ดินเหนียวและ

                  ศิลาแลง
                                               Tbs : หินอัคนี ได้แก่ หินบะซอลต์สีเทาด า หรือสีด า

                                               Ps  :  หินตะกอนและหินชั้น ได้แก่ หินปูนฟอสซิลลิเฟอรัส หินเชิร์ต

                  หินบะซอลต์รูปหมอน หินอุลตร้าเบสิก และหินเซอร์เพนทิไนต์
                                               PTrv  :  หินอัคนี  ได้แก่ หินไรโอไลต์ แอนดีไซต์ หินทัฟฟ์แสดงการไหล

                         หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ หินไรโอลิติกทัฟฟ์และหินแอนดิซิติกทัฟฟ์
                                7.2.7  ธรณีสัณฐานและวัตถุต้นก าเนิดดิน

                                   จากการศึกษาข้อมูลธรณีวิทยาและข้อมูลทรัพยากรดิน สามารถแบ่งลักษณะทางธรณี
                  สัณฐานและวัตถุต้นก าเนิดดินในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าคลองกระทือ จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ดังนี้

                                        1)  ตะพักล าน้ า (terrace)  เกิดจากอิทธิพลของน้ าท าให้เกิดการพัดพามาทับถม

                  กันของตะกอน โดยมีวัตถุต้นก าเนิดดินเป็นตะกอนน้ าพา (alluvium)
                                        2)  พื้นผิวที่เหลือจากการกร่อน (erosional surface) หรือพื้นผิวที่เหลือจากการ

                  กร่อนซอยแบ่ง (dissected erosion  surface)  วัตถุต้นก าเนิดดินเกิดจากวัตถุเคลื่อนย้ายและวัตถุตกค้าง

                  ของหินอัคนีพวกหินแกรนิต และหินตะกอนพวกหินดินดานและหินทราย
                                        3)   เนินเขาและภูเขา (hill  and  mountain)  สภาพภูมิประเทศมีความลาดชันสูง

                  บางพื้นที่มีความลาดชันสูงมาก คือ มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ได้แก่ ภูเขา และเทือกเขา หินที่พบมีทั้งหินอัคนี
                  พวกหินแกรนิต และหินตะกอน พวกหินดินดาน หินทราย หินทรายแป้ง หินปูน หินบะซอล  และควอร์ตไซต์

                  พื้นที่เกือบทั้งหมดยังคงสภาพเป็นป่าไม้
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127