Page 105 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 105

80





                  ตารางที่ 5  แสดงข้อมูลภูมิอากาศเฉลี่ย 10 ปี  (พ.ศ.2547-2556) และผลการค านวณค่าศักย์การคาย
                             ระเหยของพืชอ้างอิง และปริมาณน้ าฝนที่ใช้ได้จริง ณ สถานีตรวจอากาศจังหวัดเพชรบูรณ์

                  เดือน   ปริมาณ   อุณหภูมิ  อุณหภูมิ อุณหภูมิ   ความชื้น  ค่าศักย์การ  0.5PET   ปริมาณน้ าฝนที่
                           น้ าฝน   สูงสุด   ต่ าสุด   เฉลี่ย   สัมพัทธ์   คายระเหย               ใช้ได้จริง

                           เฉลี่ย   เฉลี่ย   เฉลี่ย           เฉลี่ย    ของน้ า (PET)            (Effective
                                                                                                  Rainfall)
                                   ๐
                                            ๐
                                                     o
                           (มม.)   ( C)     ( C)     ( C)     (%)         (มม.)       (มม.)        (มม.)
                  ม.ค.      14.4   34.6     14.5     21.9     66.1         99.8        49.9        14.1
                  ก.พ.      21.6   37.0     17.6     25.6     65.7        109.5       54.75        20.9
                  มี.ค.     47.2   38.8     19.2     27.6     63.2        143.5       71.75        43.6
                  เม.ย.     84.1   39.5     22.6     29.0     67.2        155.1       77.55        72.8
                  พ.ค.     183.5   37.4     23.4     28.3     77.6        140.7       70.35       129.6

                  มิ.ย.    147.1   35.6     23.6     28.2     79.4        117.6        58.8       112.5
                  ก.ค.     172.2   34.6     23.2     27.4     81.9         99.2        49.6       124.8
                  ส.ค.     192.7   34.1     23.4     27.4     83.9        120.9       60.45       133.3

                  ก.ย.     257.2   34.3     23.0     27.0     84.4        102.9       51.45       150.7
                  ต.ค.      91.2   34.3     21.1     26.2     78.9        111.6        55.8        77.9
                  พ.ย.      14.7   34.7     17.3     25.6     71.4        105.0        52.5        14.4
                  ธ.ค.      7.3    33.7     14.7     21.9     68.0         94.2        47.1         7.2

                  รวม      1,233.2                                        1,382.1     691.05      901.7
                  เฉลี่ย           35.7     20.3     26.3      74.3
                  ที่มา :  -  กรมอุตุนิยมวิทยา, 2556
                         - ค่าศักย์การคายระเหยของน้ า (PET) และปริมาณน้ าฝนที่ใช้ได้จริงค านวณจากโปรแกรม CropWat สูตร Penman -
                  Monteith
                                สมดุลน  าและช่วงการเพาะปลูกพืชที่เหมาะสม

                                   การวิเคราะห์ช่วงฤดูกาลเพาะปลูกพืชที่เหมาะสม ได้จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์
                  ระหว่างปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยรายเดือน  ค่าศักย์การคายระเหยของน้ า (PET) และค่า 0.5PET โดยค่าศักย์การ

                  คายระเหยของน้ า (PET) ค านวณจากโปรแกรม CropWat สูตร Penman  -  Monteith   ซึ่งเป็นสูตรที่ได้
                  รวมเอา อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่ าสุด ความชื้นสัมพัทธ์ ความเร็วลม และความยาวนานแสงแดดได้ผลการ

                  วิเคราะห์ตามภาพที่ 13  สรุปได้ดังนี้
                                        1) ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช เป็นช่วงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะต่อ

                  การเพาะปลูกอยู่ในช่วง ต้นเดือนเมษายน ถึงปลายเดือนตุลาคม

                                        2) ช่วงระยะเวลาที่มีน้ ามากเกินพออยู่ในช่วงต้นเดือนพฤษภาคมถึงต้นเดือน
                  ตุลาคม

                                        3) ช่วงระยะเวลาที่ขาดน้ าอยู่ในช่วงปลายเดือนตุลาคมถึงต้นเดือนเมษายน เป็น

                  ช่วงที่ไม่เหมาะสมต่อการปลูกพืช โดยอาศัยน้ าฝนเนื่องจากดินมีความชื้นไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110