Page 147 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 147

102




                               2)  หนวยที่ดินที่  6  และหนวยที่ดินที่  6M

                                  เปนหนวยที่ดินที่จัดอยูในกลุมชุดดินที่  6  ที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอน

                  ลําน้ํา บริเวณที่ราบตะกอนน้ําพา   เปนดินลึกมากมีการระบายน้ําดีปานกลางถึงคอนขางเลว  มีเนื้อดิน

                  เปนดินเหนียว  ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา  ดินบนมีปฏิกิริยาดินเปนกรดจัด มากถึงเปนกรดปานกลาง
                  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ  5.0-6.0 และดินลางปฏิกิริยาเปนกรด จัดมากถึงกรดจัด มีคาความ

                  เปนกรดเปนดางประมาณ 4.5 -5.5 ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ํา  และอัตรารอยละความอิ่มตัว

                  ดวยเบสต่ํา การหยั่งลึกของรากในดินบนอยูในระดับยากและดินลางอยูในระดับยาก ความยากงาย
                  ในการเขตกรรมอยูในระดับยาก

                                  ประกอบดวยหนวยที่ดินตางๆ ดังนี้

                                  - หนวยที่ดินที่ 6 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่  8,948 ไร หรือ

                  รอยละ 2.24 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                  - หนวยที่ดินที่  6M  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ และมีการยกรอง

                  ปลูกไมยืนตน มีเนื้อที่ 35,117 ไร หรือรอยละ 8.78 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                               3)  หนวยที่ดินที่  17  และหนวยที่ดินที่  17M

                                  เปนหนวยที่ดินที่จัดอยูในกลุมชุดดินที่  17 ที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอน

                  ลําน้ําหรือจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุ
                  เนื้อหยาบ เปนดินลึกมากมีการระบายน้ําดีปานกลางถึงคอนขางเลว ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา ดินบน

                  มีปฏิกิริยาดินเปนกรด จัดมากถึงเปนกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4 .5-5.5 และดินลาง

                  มีปฏิกิริยาเปนกรด จัดมาก ถึงเปนกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ   5.0-5.5 ความจุ
                  แลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ํา  และอัตรารอยละความอิ่มตัวดวยเบส ปานกลาง  การหยั่งลึกของราก

                  ในดินบนอยูในระดับงายและดินลางอยูในระดับปานกลาง ความยากงายในการเขตกรรมอยูในระดับงาย

                                  ประกอบดวยหนวยที่ดินตางๆ ดังนี้
                                  - หนวยที่ดินที่ 17 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่  714 ไร หรือ

                  รอยละ 0.18 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                  - หนวยที่ดินที่  17M  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ และมีการยก รอง

                  เพื่อใหการระบายน้ําดีขึ้นเหมาะสําหรับการปลูกไมยืนตน มีเนื้อที่  5,663 ไร หรือรอยละ  1.42 ของ
                  พื้นที่ลุมน้ําสาขา












                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152