Page 115 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 115

85




                         ผลการประเมินอัตราการชะลางพังทลายของดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขา       พบวาลุมน้ํา

                  สาขาคลองจันดี ( รหัส 2202) มีอัตราการชะลางพังทลายในระดับการสูญเสียดินที่ยอมรับได  เนื้อที่

                  353,581 ไร หรือรอยละ  88.42  ของ พื้นที่ลุมน้ําสาขา อยูในชั้นที่มีระดับการสูญเสียดิน  นอยถึง
                  ชั้นที่มีระดับการสูญเสียดินปานกลาง พื้นที่ที่มีการชะลางพังทลายเกินระดับการสูญเสียดินที่ยอมรับได

                  เนื้อที่ 46,325 ไร หรือรอยละ  11.58 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา โดยจะอยูในชั้นที่มีระดับการสูญเสียดิน

                  รุนแรงถึงระดับการสูญเสียดินรุนแรงมากที่สุด รายละเอียดดังนี้

                         (1)      ระดับความรุนแรงของการสูญเสียดินนอย  มีเนื้อที่ 258,835 ไร หรือรอยละ  64.73
                  ของ พื้นที่ลุมน้ําสาขา เกิดในสภาพภูมิประเทศที่เปนที่ราบ   ซึ่งมีสภาพการใชที่ดินสวนใหญ

                  เปนยางพารา พื้นที่นา และที่ตั้งชุมชน

                         (2)      ระดับความรุนแรงของการสูญเสียดิน ปานกลาง  มีเนื้อที่ 94,746 ไร หรือรอยละ
                  23.69 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เกิดในลักษณะภูมิประเทศ 2 แบบ คือ พื้นที่ที่มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบ  ซึ่งมี

                  สภาพการใชที่ดินสวนใหญเปน   ไมยืนตน  และ พื้นที่ที่มีสภาพพื้นที่เปน  ลูกคลื่นลอนลาด

                  ซึ่งมีสภาพการใชที่ดินสวนใหญเปนยางพารา

                        (3)       ระดับความรุนแรงของการสูญเสียดิน รุนแรง มีเนื้อที่ 33,033 ไร หรือรอยละ  8.26
                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา สวนใหญเกิดในสภาพภูมิประเทศที่เปนที่ ลูกคลื่นลอนลาดซึ่งมีสภาพการใช

                  ที่ดินสวนใหญเปนยางพารา และปาลมน้ํามัน

                        (4)       ระดับความรุนแรงของการสูญเสียดิน รุนแรงมาก  มีเนื้อที่  1,928 ไร หรือรอยละ
                  0.48 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา สวนใหญเกิดในสภาพภูมิประเทศที่เปนที่ ลูกคลื่นลอนชัน ซึ่งมีสภาพการ

                  ใชที่ดินเปนยางพารา

                        (      5) ระดับความรุนแรงของการสูญเสียดินรุนแรง มากที่สุด  มีเนื้อที่  11,364 ไร หรือ
                  รอยละ  2.84 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา สวนใหญเกิดในสภาพภูมิประเทศที่เปน เนินเขา และพื้นที่ลาดชัน

                  เชิงซอน ซึ่งมีสภาพการใชที่ดินเปนยางพารา


                    8.5   การวิเคราะหและจัดทําหนวยที่ดิน

                      ในการวางแผนการใชที่ดินดานการเกษตร ทรัพยากรดินเปนปจจัยที่มีความสําคัญ เนื่องจาก

                  ดินเปนปจจัยพื้นฐานสําหรับการทําเกษตรกรรม การจัดทําหนวยที่ดินเปนการ นําขอมูลลักษณะและ

                  คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของกลุมชุดดิน เชน การระบายน้ํา ความลึกของดิน ปฏิกิริยาดิน
                  และความอุดมสมบูรณของดิน ฯลฯ จากรายงานสํารวจดินเพื่อการเกษตรจังหวัดนครศรีธรรมราช

                  (2553) มาพิจารณารวมกับสภาพพื้นที่ การพัฒนาแหลงน้ําในรูปแบบตางๆ ซึ่งการจัดทําหนวยที่ดินนี้

                  เปนประโยชนในการประเมินคาที่ดินในดานตางๆ เชน    การจัดระดับความเหมาะสมของที่ดิน







                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120