Page 16 - ผลสำเร็จของแผนการใช้ที่ดินระดับตำบลแบบบูรณาการในพื้นที่ ตำบลผักไหม อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
P. 16

8


                       2.2   สภาพภูมิอากาศ

                              ลักษณะภูมิอากาศของต าบล จัดอยู่ในลักษณะภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน (Tropical monsoon
                       climate) ซึ่งแบ่งได้ 3 ฤดู คือ ฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม โดยได้รับอิทธิพล จากลม

                       มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดผ่านทะเลและมหาสมุทร ท าให้มีอากาศชุ่มชื้นและฝนตกชุกส่วนฤดูหนาวเริ่ม

                       ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพัด
                       เอาความหนาวเย็นและความแห้งแล้งมา  ส าหรับฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่  เดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายนซึ่งมี

                       อากาศร้อนและอบอ้าว จากสถิติภูมิอากาศของสถานีตรวจอากาศ จังหวัดศรีสะเกษได้น ามาใช้พิจารณา

                       เป็นตัวแทนลักษณะภูมิอากาศในพื้นที่ต าบล สรุปได้ดังนี้

                              2.2.1 ปริมาณน ้าฝน   มีปริมาณน ้าฝนรวมเฉลี่ยทั้งปี  1,466.5  มิลลิเมตร  จ านวนวันที่ฝนตก
                       ประมาณ 113.0  วัน  เดือนสิงหาคมมีปริมาณน ้าฝนมากที่สุด  293.7  มิลลิเมตร  และเดือนธันวาคม  มี

                       ปริมาณน ้าฝนน้อยที่สุด 1.0 มิลลิเมตร

                              2.2.2 อุณหภูมิ มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 27.5 องศาเซลเซียส เดือนเมษายนมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด

                       30.4 องศาเซลเซียส และเดือนธันวาคมมีอุณหภูมิเฉลี่ยต ่าสุด 23.8 องศาเซลเซียส
                              2.2.3 ความชื้นสัมพัทธ์    มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยทั้งปี  70.9  เปอร์เซ็นต์  เดือนสิงหาคม  มี

                       ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยสูงสุด 79 เปอร์เซ็นต์ และเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคมมี ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย

                       ต ่าสุด 65 เปอร์เซ็นต์
                              2.2.4 การวิเคราะห์ช่วงฤดูเพาะปลูกพืช ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาช่วงเวลาที่เหมาะสม ใน

                       การปลูกพืช โดยใช้ข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณน ้าฝนรายเดือนเฉลี่ย และค่าศักยภาพการคายระเหยน ้าของพืช

                       รายเดือนเฉลี่ย  ซึ่งค านวณโดยใช้โปรแกรม Cropwat for Windows Version 4.3 มาก าหนดจุดกราฟลงบน
                       กระดาษ  โดยพิจารณาจากระยะเวลาช่วงที่เส้นน ้าฝนอยู่เหนือเส้น  0.5  ETo  เป็นหลัก  เพื่อหาช่วง

                       ระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืชของต าบล สามารถสรุปได้ดังนี้

                              1) ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการเพาะปลูก อยู่ในช่วงตั้งแต่กลางเดือนเมษายนถึง กลางเดือน

                       พฤศจิกายน และมีความชื้นหลงเหลืออยู่ในดินพอเพียงส าหรับปลูกพืชไร่ พืชผักอายุสั้นหลังจากหมด

                       ฤดูฝนประมาณหนึ่งเดือน  และอาจใช้แหล่งน ้าในไร่นาช่วยเสริมการเพาะปลูกได้บ้าง  แต่ทั้งนี้ควร

                       วางแผนจัดระบบการปลูกพืชให้เหมาะสมในแต่ละพื้นที่  และจากการวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศและ

                       ความต้องการน ้า อาจกล่าวได้ว่าต าบล มีศักยภาพสามารถปลูกข้าว พืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้นได้ดี


                              2)  ช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก  ซึ่งมีปริมาณน ้าฝนและการกระจายน้อยหรือไม่

                       เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช  อยู่ในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายนถึงต้นเดือนเมษายนของทุกปี

                       ในช่วงเวลาดังกล่าวถ้าได้รับน ้าชลประทานช่วยก็สามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21