Page 50 - การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินบริเวณพื้นที่ปลูกป่าของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 50

33
               7.  ค้าอธิบายลักษณะดินแปลงปลูกป่า พ.ศ. 2537  ปมท.7

                           สภาพพื้นที่             เป็นพื้นที่ตอนที่มีความลาดชันเล็กน้อย

                           ความลาดชัน              3 เปอร์เซ็นต์

                           ความสูงจากระดับน้้าทะเล  33 เมตร
                           การระบายน้้าของดิน      ดี

                           ลักษณะน้้าไหลบ่า        เร็วปานกลาง




















                                       ภาพที่ 24  สภาพพื้นที่แปลงปลูกป่า พ.ศ. 2537  ปมท.7


                           สภาพพืชพรรณและการใช้ประโยชน์ที่ดิน    ในอดีตก่อน พ.ศ. 2538 ใช้ปลูกสับปะรด ต่อมาได้

               ปลูกไม้ป่าต่างๆ โดยมี ยางนา เป็นไม้หลัก และมีไม้ต่างๆ เช่น ขี้เหล็ก กระถินเทพา กระถินณรงค์ มะยมหิน

               โมกมัน และ แดงขึ้นปะปน หลังจากปลูกไม้ยางนามาได้ประมาณ 6-10 ปี ยางนาส่วนใหญ่ได้ยืนต้นตาย

                           ข้อเสนอแนะ   โดยทั่วๆ ไป เหมาะในการน ามาใช้ปลูกพืชไร่ แต่มีปัญหาเรื่อง ความอุดมสมบูรณ์
               ของดิน ดินค่อนข้างเป็นทราย และเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ าในช่วงฝนทิ้ง ส าหรับ ยางนา ที่ได้ปลูกไปแล้ว

               หลังจากเจริญเติบโตได้ประมาณ 6 ปี ยางค่อยๆ ยืนต้นตาย จนขณะนี้ยางนา เกือบตายทั้งหมด ดังนั้นเรื่องนี้ที่

               จ าเป็นต้องมีการศึกษาให้ละเอียดมากขึ้น เพื่อหาสาเหตุการตายของยางนา

                           วัตถุต้นก้าเนิดดิน  เกิดจากวัตถุสลายตัวผุพังของหินแกรนิต แล้วถูกพัดพามาทับถมในบริเวณที่ต่ า
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55