Page 31 - การศึกษาวัสดุที่เหมาะสมสำหรับทำน้ำหมักชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 เพื่อลดเวลาการย่อยสลายฟางข้าวและเพิ่มผลผลิตข้าวในชุดดินหางดง จังหวัดเชียงใหม่
P. 31

18










































                     ภาพที่ 4     ปริมาณเปอร
เซนต
อินทรียวัตถุในดินก'อนและหลังการทดลอง


                       2.3 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป5นประโยชน
                          ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป1นประโยชน
ก'อนการทดลองวิธีการที่ 1, 5 และ 7 มีค'าอยู'ในระดับต่ํา คือ
                   10, 9.5 และ 9.5 มิลลิกรัมต'อกิโลกรัม  และมีค'าปานกลาง ในวิธีการที่ 2, 3, 4, 6, 8 และ 9 คือ 12.5,

                   11.5, 11.5, 13.5, 12.5 และ 11 มิลลิกรัมต'อกิโลกรัม ตามลําดับ โดยมีค'าเฉลี่ยอยู'ที่ 11.28 มิลลิกรัมต'อ
                   กิโลกรัม ส'วนปริมาณฟอสฟอรัสที่เป1นประโยชน
หลังการทดลอง วิธีการที่ 1-9 มีค'าอยู'ในระดับสูง โดยมีค'า
                   คือ 22, 23.5, 20.5, 21, 18, 22.5, 18, 21.5 และ 18.5 มิลลิกรัมต'อกิโลกรัม ตามลําดับมีค'าเฉลี่ยอยู'ที่

                   20.61 มิลลิกรัมต'อกิโลกรัม แสดงในตารางที่ 2  และภาพที่ 4   ปริมาณฟอสฟอรัสมีส'วนช'วยในการ
                   เสริมสร#างการเจริญเติบโต ความแข็งแรงของพืช ทั้งส'วนที่อยู'เหนือดินและรากตลอดจนการออก ดอกออก
                   ผล (คณาจารย
ภาควิชาปฐพีวิทยา, 2541) ทั้งนี้การหมักตอซังและฟางข#าวจะช'วยเพิ่มปริมาณฟอสฟอรัสที่
                   เป1นประโยชน
 ซึ่งตอซังและฟางข#าวมีธาตุอาหารเป1นส'วนประกอบดังนี้ คือ ไนโตรเจน 0.65-0.70
                   เปอร
เซ็นต
 ฟอสฟอรัส 0.08-0.10 เปอร
เซ็นต
 โพแทสเซียม 1.40-1.60 เปอร
เซ็นต
 (พิสิฐ, 2549) จึงทํา

                   ให#ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป1นประโยชน
หลังจากทดลองเพิ่มสูงขึ้น
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36