Page 122 - การสำรวจสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดินตามแผนการใช้ที่ดินระดับตำบลแบบบูรณาการ ตำบลทุ่งฮั้ว อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง
P. 122

๖๔






                              สรุปผลการดําเนินงาน



                                 การสํารวจสํามะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดินตามแผนการใชที่ดินระดับตําบลแบบบูรณา
                       การเปนแนวทางการบริหารและการจัดการเชิงพื้นที่ โดยมีขอพิจารณาจากขอมูลสภาพพื้นที่ ความ
                       ตองการของชุมชน แนวนโยบายดานการเกษตร ซึ่งสอดคลองกับแผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวง
                       เกษตรและสหกรณ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นอกจากนั้นการดําเนินการนี้อยูใน
                       กฎหมายวาดวยการพัฒนาที่ดิน และพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งหนวยงานที่
                       เกี่ยวของสามารถนําขอมูลไปประยุกตใชตามวัตถุประสงคของแตละโครงการทั้งนี้เพื่อใหเกิด

                       ประสิทธิภาพในการใชประโยชนที่ดินในดานความเหมาะสม ใหเกิดประโยชนสูงสุด และยั่งยืน

                              การปฏิบัติงานในครั้งนี้ดําเนินการในพื้นที่ตําบลทุงฮั้ว อําเภอวังเหนือ จังหวัดลําปาง ซึ่งเปน

                       พื้นที่ที่มีอาณาเขตติดตอกับตําบลตางๆ ทิศเหนือติดตอตําบลวังแกว อําเภอวังเหนือ จังหวัดลําปาง
                       ทิศใตติดตอตําบลวังเหนือ และตําบลวังซาย อําเภอวังเหนือ จังหวัดลําปาง ทิศตะวันออกติดตอ
                       จังหวัดพะเยา ทิศตะวันตกติดตอจังหวัดเชียงราย แบงการปกครองภายในตําบลเปน ๑๒ หมูบาน
                       พื้นที่ดําเนินการทั้งหมด เนื้อที่  ๘๑,๖๑๐ ไร  มีพื้นที่ถือครองที่ดินทางการเกษตร เนื้อที่ ๑๘,๐๕๗ ไร

                       สําหรับผลการวิเคราะหขอมูลพบวา รอยละ ๔๗.๘๙ มีเอกสารสิทธิ์ถือครองที่ดินเปนโฉนดที่ดิน
                       รองลงมารอยละ ๔๕.๔๕ มีเอกสารสิทธิ์ถือครองที่ดินของสํานักปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ( ส.ป.ก.
                       ๔-๐๑ ) รอยละ ๔.๔๑ ไมมีเอกสารสิทธิ์ ซึ่งสวนใหญรอยละ ๓๒.๕๖ มีพื้นที่ถือครองขนาดที่ดิน ๑ ไร
                       โดยพืชที่เกษตรกรปลูกในพื้นที่สวนใหญเปนพืชเศรษฐกิจ รอยละ ๔๕.๒๕ ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว รอย

                       ละ ๔๑.๐๐ ปลูกขาว ในเรื่องของการเพิ่มผลผลิต เกษตรกรใชปุยเคมีประเภทเดียวรอยละ ๖๙.๙๗ ใช
                       ปุยเคมีและปุยอินทรียรวมกันรอยละ ๒๗.๔๙ โดยเกษตรกรใชปุยอินทรียประเภทเดียวเพียง รอยละ
                       ๑.๐๑ ในขณะที่มีการปองกันศัตรูพืชโดยใชสารเคมีมากถึงรอยละ ๗๙.๙๐ ของพื้นที่ รายไดสวนใหญ
                       มาจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมในพื้นที่ของตนเอง คิดเปนรอยละ ๘๙.๓๘ มีรายไดหลังจากหัก

                       คาใชจายในการทําเกษตรกรรมอยูในชวง ๒๐,๐๐๑ – ๕๐,๐๐๐ บาท คิดเปนรอยละ ๓๔.๒๑ และ
                       เมื่อวิเคราะหในดานของภาระหนี้สิน พบวา รอยละ ๓๒.๓๖ มีหนี้สินมากกวา ๑๐๐,๐๐๐ บาท  และ
                       รอยละ ๑๙.๓๙ ไมมีหนี้สิน


                              ดานการใชแหลงน้ําเพื่อการเกษตรกรรมพบวาเกษตรกรที่ใชแหลงน้ําตามธรรมชาติในการ

                       ผลิตทางการเกษตร คิดเปนรอยละ ๗๒.๔๕ สวนผลผลิตสงขายใหกับพอคาคนกลาง รอยละ ๔๙.๐๓
                       โดยที่เสนทางการคมนาคมสวนใหญเปนถนนลูกรัง เปนระยะทางรวมถึง ๙๕.๕๒ กิโลเมตร จาก
                       ระยะทางทั้งหมด ๑๑๖.๔๕ กิโลเมตร การใชพื้นที่หลังการเก็บเกี่ยวสวนใหญปลอยเปนพื้นที่วาง รอย

                       ละ ๕๕.๑๘  เกษตรกรสวนใหญตองการทําเกษตรอินทรียรอยละ ๗๔.๙ ๗  แตดําเนินการทําเกษตร
                       อินทรียอยูเพียงรอยละ ๒๕.๘๖ ซึ่งเกษตรกรใชผลิตภัณฑของกรมพัฒนาที่ดิน (พด.๒) รอยละ ๓๐.๑๗
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127