Page 20 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2553
P. 20
1
บทที 1
บทนํา
1.1 หลักการและเหตุผล
จังหวัดอุบลราชธานี เป็นจังหวัดที ตั งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีขนาดของ
พื นที ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคและเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ซึ งมีพรมแดนติดต่อกับประเทศเพื อนบ้าน
และเป็นเมืองหลักของภาคอีสานตอนล่าง ซึ งได้รับการสนับสนุนพัฒนาจากภาครัฐอย่างต่อเนื อง เพื อให้เป็น
ศูนย์กลางทั งทางด้าน เกษตรกรรม อุตสาหกรรมธุรกิจ และคมนาคม ในปี พ.ศ. 2552 จังหวัดอุบลราชธานี มี
ประชากรประมาณ 1,803,754 คน (สํานักงานสถิติจังหวัดอุบลราชธานี ,2552) ประชากรส่วนใหญ่ประกอบ
อาชีพเกษตรกรรม มีผลผลิตหลายชนิด เช่น ข้าวหอมมะลิ มันสําปะหลัง ยางพารา ยูคาลิปตัส เป็นต้น
นอกจากนนี ภาคอุตสาหกรรมการผลิต เกิดการขยายตัวมีกําลังการผลิตเพิ มมากขึ นซึ งโครงสร้างทาง
เศรษฐกิจของจังหวัดอุบลราชธานีขึ นอยู่กับการขายปลีกของภาคเกษตรกรรมและภาคการศึกษาเป็นสําคัญ
ภาวะทางเศรษฐกิจจังหวัดอุบลราชธานี โดยรวมปี พ.ศ. 2550 พัฒนาจากผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด(GPP)
มีมูลค่าเพิ ม ณ ราคาประจําปีเท่ากับ 110,156 ล้านบาท เพิ มขึ นจาก 98,796 ล้านบาทในปีที ผ่านมา เท่ากับ
11,360 ล้านบาท โดยมีค่าผลักดันหลักมาจากการผลิตนอกภาคเกษตรที มีการขยายตัวสูงขึ นถึงร้อยละ 6.2
ในภาคการเกษตรขยายตัวร้อยละ 3.0 เนื องจากการผลิตพืชชะลอตัว โดยเฉพาะพืชสําคัญของจังหวัด เช่น
ข้าวนาปี ผลผลิตลดลงเนื องจากมีการปรับเปลี ยนพื นที ปลูกพืชชนิดอื นๆทดแทน และในขณะเดียวกัน
ผลผลิตจากข้าวเหนียวนาปี มันสําปะหลังและยางพาราปรับตัวเพิ มขึ น เป็นผลมาจากภาวะอากาศเอื ออํานวย
และตามแรงจูงใจด้านราคาที สูงและมีแนวโน้มเพิ มขึ น ส่งผลให้เกษตรกรมีการผลิตเพิ มขึ น
ดังนั นกรมพัฒนาที ดิน โดยสํานักนโยบายและแผนการใช้ที ดินจึงได้มีการสํารวจ วิเคราะห์และจัดทํา
แผนที สภาพการใช้ที ดิน จังหวัดอุบลราชธานี โดยพิจารณาจากสภาพพื นที ความต้องการของชุมชนเป็น
หลัก นอกจากนี ยังศึกษาแนวนโยบายด้านการเกษตรของรัฐบาล และท้องถิ นในระดับต่างๆ เพื อนํามา
วิเคราะห์และกําหนดการใช้ประโยชน์ที ดิน พร้อมข้อเสนอแนะด้านการจัดการพื นที ในแต่ละพื นที และมีการ
ปรับปรุงทุก 2 ปี ตามฐานข้อมูลเดิม เพื อเป็นแนวทางให้เกิดการใช้ที ดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ
ป้ องกันปัญหาดังกล่าวข้างต้น ซึ งข้อมูลดังกล่าว สามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที
เหมาะสม โดยเฉพาะทรัพยากรดิน ซึ งเป็นทรัพยากรที มีค่าของประเทศให้ใช้ต่อไปในอนาคตได้อย่างยั งยืน