Page 48 - ดินเพื่อประชาชน
P. 48

ดินเพื่อประชาชน   45



            ปญหาสภาพเกินปูน (overliming)

                    1. ทําใหระดับของเหล็ก และ แมงกานีสในดินลดต่ําลงมากจนเกินไป ถึง
            ขั้นที่ทําใหเกิดการขาดแคลนสําหรับพืชได

                    2. ทําใหระดับฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืชลดลงดวย เพราะเกิดเปน
            สารประกอบฟอสเฟตของแคลเซียมที่ละลายน้ํายาก

                    3. การดูดึมฟอสฟอรัส และการใชฟอสฟอรัสในกระบวนการเมแทบอลิซึม
            ตางๆ ในพืชดําเนินไปไดไมสะดวก

                    4. การดูดดึงโบรอนขึ้นมาใชไมสะดวก ทําใหระดับของโบรอนที่เปน
            ประโยชนตอพืชลดลง กระบวนการเมทาบอลิซึมของโบรอนในพืชดําเนินไปไม

            ราบรื่น
                    5. ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง pH  ในดินอยางมากและรวดเร็ว ซึ่งเปน

            อันตรายตอพืช


            วิธีการใสปูน

                    การใสปูนใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด คือ จะใสทุกครั้งที่ตรวจพบวา คา
            พีเอชของดินต่ํากวาระดับที่พืชตองการ ซึ่งอาจเปนกระทําทุกปหรือปเวนป แตที่
            แนะนําโดยทั่วไปควรกระทําทุกๆ 5 ป แตสําหรับแปลงทุงหญาการใสปูนอาจกระทํา

            ทุกๆ 8-10 ป

                    ถาสามารถกระทําได การใสปูนควรจะใสลวงหนากอนการปลูกพืชไมต่ํา
            กวา 3 เดือน เพื่อใหเวลาในการทําปฏิกิริยาของปูนกับดินถึงจุดสมดุลเสียกอน นา

            ขาวหากจะตองใสปูน ควรใสในระหวางฤดูแลง กอนการเตรียมแปลงเพื่อขังน้ําและ
            กอนปลูกขาวประมาณ 3 เดือนเชนกัน

                    การใสจะตองพยายามใหเม็ดปูนไดสัมผัสกับอนุภาคดินใหมากที่สุด ทั่วถึง
            ในระดับของชั้นไถพรวน ดังนั้นในการแนะนําจึงมักใสปูนกอนแลวไถพรวน แลวทิ้งไว

            เพื่อรอการปลูกพืชตอไป
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53