Page 12 - ดินเพื่อประชาชน
P. 12

ดินเพื่อประชาชน    9



            ตารางที่ 2 ลักษณะโครงสรางของเม็ดดินแตละชนิด


               ลักษณะ       ภาพประกอบ                 ลักษณะเดน
              แบบกอนกลม                 มีรูปรางคลายทรงกลม เม็ดดินมีขนาดเล็กประมาณ 1  -
              (Granular )                10 มิลลิเมตร มักพบในดินชั้น A มีรากพืชปนอยูมาก เนื้อ
                                         ดินมีความพรุนมาก จึงระบายน้ําและอากาศไดดี

             แบบกอนเหลี่ยม              มีรูปรางคลายกลอง เม็ดดินมีขนาดประมาณ 1-5

               (Blocky)                  เซนติเมตร  มักพบในดินชั้น B  มีการกระจายของรากพืช
                                         ปานกลาง น้ําและอากาศซึมผานได
               แบบแผน                   กอนดินแบนวางตัวในแนวราบ และซอนเหลื่อมกันเปนชั้น

                (Platy)                  ขัดขวางรากพืช  น้ําและอากาศซึมผานไดยาก มักเปนดิน
                                         ชั้น A ที่ถูกบีบอัดจากการบดไถของเครื่องจักรกล
              แบบแทงหัว                 มีผิวหนาแบนและเรียบ เปนแทงหัวเหลี่ยมคลายปริซึม
                เหลี่ยม                  สวนบนของปลายแทงมักมีรูปรางแบน เม็ดดินมีขนาด 1
              (Prismatic)                - 10 ซม.มักพบในดินชั้น B น้ําและอากาศซึมไดปานกลาง
             แบบแทงหัวมน                สวนบนของปลายแทงมีลักษณะกลมมน  ปกคลุมดวย
              (Columnar)                 เกลือ เม็ดดินมีขนาด 1 - 10 ซม. มักพบในดินชั้น B และ
                                         เกิดในเขตแหงแลง และมีการสะสมของโซเดียมสูง
              แบบกอนทึบ                 เปนดินเนื้อละเอียดยึดตัวติดกันเปนกอนใหญ ขนาด

              (Massive)                  ประมาณ 30 เซนติเมตร ดินไมแตกตัวเปนเม็ด จึงทําใหน้ํา
                                         และอากาศซึมผานไดยาก

            แบบอนุภาคเดี่ยว              ไมมีการยึดตัวติดกันเปนกอน มักพบในดินทราย  ซึ่งน้ํา
            (Single Grained)             และอากาศซึมผานไดดี



            ชั้นหนาตัดของดิน
                    จากลักษณะของดิน จะพบวา ดินที่ขุดจากระดับความลึกตางกันจะมี

            ลักษณะตางกัน การผุพังทับถมของแรธาตุและซากพืช ซากสัตวเปนเวลานาน มีผล
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17