Page 600 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 600

586



                         3.2.2 ชุดดินวังสะพุง (Wang Saphung series: Ws)

                         จัดอยูใน fine, mixed, active, isohyperthermic Typic Haplustalfs  เกิดจากการสลายตัวของ
                  หินดินดาน หรือหินฟลไลต บางแหงจะมีเนื้อปูนผสมอยูดวย สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะลอนลาดถึงลอนชัน

                  เล็กนอย มีความลาดชัน 4-7  เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ําดี คาดวาดินมี

                  ความสามารถใหน้ําซึมผานปานกลาง มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลาง

                         ดินบนลึกไมเกิน 20  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวน หรือดินรวนปนดินเหนียว สีพื้นเปนสีน้ําตาลเขม
                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลาง(pH 6.0)  ดินบนตอนลางลึกประมาณ 20-30  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปน

                  เหนียวหรือดินเหนียว สีพื้นเปนสีน้ําตาลปนเหลือง หรือสีน้ําตาลแก ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก

                  (pH 5.0-5.5) สวนดินตอนลางลึกตั้งแต 30  ซม.ลงไป เนื้อดินเปนดินเหนียว สีพื้นเปนสีแดงปนเหลือง

                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงกรดปานกลาง(pH 6.0-6.5) ในระดับความลึกมากกวา 50 ซม.ลงไป จะพบ
                  เศษหินดินดานกําลังผุพัง และปริมาณเพิ่มขึ้นตามความลึก


                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน

                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้ โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความลึก 0-30
                  ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973 (Soil

                  Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งผลของการประเมิน

                  สรุปไดดังตารางที่ 55.5

                  ตารางที่ 55.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน


                                           CEC          BS         OM         Avai.P    Exch.K     ระดับความ
                      ชุดดิน     pH
                                         cmol /kg       (%)         (%)      (mg/kg)    (mg/kg)   อุดมสมบูรณ
                                             c
                   จัตุรัส      6.14      19.80       62.03        0.92        8.75      81.90        ต่ํา
                   วังสะพุง       -       21.50       61.33        3.81        4.20      99.00     ปานกลาง
                   คามัธยฐาน     -       20.65       61.68        2.53        6.48      90.45     ปานกลาง


                  สรุป : จากการประเมินความอุดมสมบูรณของดินชุดตางๆ ที่จัดอยูในกลุมชุดดินที่ 55 พบวาชุดดินจัตุรัสมี

                        ความอุดมสมบูรณอยูในระดับต่ํา  สวนชุดดินวังสะพุงมีความอุดมสมบูรณอยูในระดับปานกลาง
   595   596   597   598   599   600   601   602   603   604   605