Page 56 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 56

42



                         รวมอัตราธาตุอาหาร                        12.2   กก.N/ไร   3    กก.P O /ไร  และ 6 กก.K O/ไร
                                                                                                 2
                                                                                2 5
                   อาจสรุปหลักของการใชปุยเคมีกับนาขาวได ขอดังนี้


                         1) อัตราธาตุอาหารจากปุยเคมีที่ให ตองสัมพันธกับผลการวิเคราะหดิน แตในดินเดียวกันอัตราปุย

                  ไนโตรเจนที่ใชกับขาวไมไวตอชวงแสง จะสูงกวาที่ใชกับขาวไวตอชวงแสงสองเทา

                         2) เพื่อใหไดอัตราของธาตุอาหารตามที่กําหนด สามารถเลือกชนิดของปุยเคมีไดหลายแบบ ทั้งนี้

                  ขึ้นอยูกับชนิดของปุยเคมีที่สามารถจัดหาได


                         3) ปุยที่มีฟอสฟอรัสกับปุยที่มีโพแทสเซียม ควรใสเพียงครั้งเดียว คือ สําหรับนาดําใสในชวงปกดํา
                  แตถาเปนนาหวานใสหลังขาวงอก 15-20 วัน


                         4) ปุยไนโตรเจนสําหรับขาวไมไวตอชวงแสงใส 3 ครั้ง คือครั้งแรกตามขอ 3 สวนครั้งที่ 2 ใสในระยะ

                  ที่ขาวแตกกอ หรือ 30 วันหลังการใสปุยครั้งแรก และครั้งที่ 3 ใสในระยะที่ขาวกําเนิดชอดอก

                         5) ปุยไนโตรเจนสําหรับขาวไวตอชวงแสงใส 2 ครั้ง คือครั้งแรกตามขอ 3 สวนครั้งที่ 2  ใสในระยะที่

                  ขาวกําเนิดชอดอก


                          4.5 การใชปูน

                         การแกไขดินกรดใหมีสภาพใกลกลางทําไดโดยการใสปูน  สําหรับปริมาณปูนที่ดินตองการเพื่อ

                  ยกระดับพีเอช ( pH) ของดินกรดใหสูงขึ้นถึงระดับที่กําหนด เรียกวา ความตองการปูน (lime requirement)
                  ของดิน  ในการวิเคราะหความตองการปูนของดินนั้น  ผลการวิเคราะหจะบอกอัตรา ( กก./ไร ) ของหินปูน

                  บด (CaCO  ) บริสุทธิ์ ที่ใชเพื่อยกระดับพีเอชเดิมของดินบน ( ความลึก 0-15 ) จากเดิมมาเปน 6.5
                            3
                         สําหรับดินเนื้อละเอียดที่มีเนื้อดินตางกันแมจะมีคาพีเอชเดิมเทากัน ก็มีความตองการปูนแตกตาง

                  กัน ( ตารางที่ ก21 ) กลาวคือดินเนื้อละเอียดมีความตองการปูนสูงกวาดินเนื้อหยาบ
                  ตารางที่ ก21  อัตรา (กก./ไร) ของหินปูนบด(CaCO ) โดยประมาณ ที่แนะนําใหใชเพื่อยกระดับพีเอช(pH) ของดิน
                                                         3
                                         กรดใหมาเปน 6.5 สําหรับดินที่มีเนื้อดินตางๆกัน
                   pH เดิมของดิน                       อัตราของหินปูนบด (กก./ไร ) ที่ใชกับเนื้อดินตางๆ

                                           ดินทราย         ดินรวนปนทราย      ดินรวน    ดินเหนียวและรวนเหนียว
                           5.0               200               300             400               500

                           4.5               700               800            1,000             1,100
                           4.0              1,100              1,300          1,800             2,100

                           3.5              1,600              2,000          2,500             3,000
                           3.0              2,200              2,800          3,200             4,000

                  ที่มา : ทัศนียและคณะ (2546 )
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61