Page 487 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 487

473



                         9.3.3 สมเขียวหวาน  1) อายุ 1 ปใชปุยสูตร 20-10-10 หรือปุยสูตร 25-7-7 หรือปุยสูตร 15-15-15

                  +46-0-0 (สัดสวน 1:1) อัตรา 0.5-1.0 กก./ตน โดยแบงใส 4-6 เดือน/ครั้ง และปุยอินทรีย 10-20 กก./ตน
                  เพียงครั้งเดียวในชวงฤดูฝน 2) ปที่ 2-4 ใชปุยสูตรเดียวกันกับสมปที่ 1 แตเพิ่มอัตราเปน 1-2 กก./ตน โดยใส

                  3-4 เดือน/ครั้ง และปุยอินทรีย 20-50 กก./ตน เพียงครั้งเดียวในชวงฤดูฝน และ 3) อายุ 4 ปขึ้นไป ซึ่งสมจะ

                  เริ่มใหผลผลิต ควรแบงการใสปุยเปน 3 ชวง คือ ชวงกอนออกดอก ใสปุยสูตร 12-24-12 อัตรา 1 กก./ตน

                  และพนปุยธาตุรองและธาตุอาหารเสริมทางใบ ในระยะติดผล พนปุยธาตุรองและธาตุอาหารเสริมทางใบ

                  เชนเดียวกัน สําหรับชวงใกลเก็บเกี่ยวผลผลิตใชปุยสูตร 13-13-21 อัตรา 1-2 กก./ตน สวนหลังการเก็บเกี่ยว
                  ผลผลิตแลว ควรใชปุยสูตรเดียวกันกับที่ใชในสมอายุ 1 ป แตใสอัตรา 1-3 กก./ตน พนปุยธาตุรองและธาตุ

                  อาหารเสริมทางใบ และใสปุยอินทรีย 20-50 กก./ตน


                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 47  ประกอบดวยชุดดินลี้ มวกเหล็ก โคกปรือ นครสวรรค หินซอน ทาลี่ สบปราบ โปง

                  น้ํารอน  ไพสาลี และงาว พบในสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดถึงที่เนินเขา  ความลาดเทอยูระหวาง 2-20

                  เปอรเซ็นต  เปนดินตื้นมากถึงลึกปานกลาง  เกิดจากการสลายตัวของหินเนื้อละเอียด ไดแก หินดินดาน
                  หินชนวน และหินอัคนี ไดแก  บาซอลท แอนดิไซท และไรโอไรท เนื้อดินเปนดินรวนปนกรวด หรือดินรวน

                  เหนียวปนกรวด  หรือดินเหนียวปนกรวดหรือเศษหิน สีน้ําตาล น้ําตาลปนแดง แดงปนเหลือง หรือสีแดง

                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง คาพีเอช 5.5-7.0  ความอุดมสมบูรณธรรมชาติปานกลางถึงสูง

                  แตลดลงรวดเร็วเนื่องจากการชะลางพังทลายของดิน

                         ปญหาในการใชประโยชน คือ สวนใหญเปนดินตื้นถึงตื้นมาก  การชะลางพังทลายปานกลางถึง

                  รุนแรง ความอุดมสมบูรณของดินจึงลดลงรวดเร็ว และขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก ควรใชเพื่อพัฒนาเปน

                  ทุงหญาเลี้ยงสัตวควบคูกันไปกับการปลูกไมโตเร็ว  หรือพัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตวกับการปลูกพืชไรบาง
                  ชนิด โดยเฉพาะพืชไรรากตื้น ไดแก ขาวโพด ขาวฟาง ถั่วตางๆ ขาวไร ออย เปนตน หรือสงวนไวเปนพื้นที่ปา

                  ไมเพื่อรักษาสภาพตนน้ําลําธาร เนื่องจากกลุมชุดดินนี้มีความแตกตางกันคอนขางมากในดานความลึกของ

                  ดิน  สภาพความลาดเทของพื้นที่  จึงควรอนุรักษดินและน้ํา ปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน  และการใช

                  ประโยชนใหเหมาะสมกับศักยภาพของดิน
   482   483   484   485   486   487   488   489   490   491   492