Page 237 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 237

223




                  ตารางที่ 33.1 (ตอ) สภาพภูมิอากาศ และปริมาณน้ําฝนรายปของจังหวัดตางๆ ที่พบกลุมชุดดินที่ 33

                                                                                อุณหภูมิเฉลี่ย/ป ความชื้นสัมพัทธ
                                                     ปริมาณน้ําฝน   การระเหยน้ํา
                         ภาค        จังหวัด                                     (องศาเซลเซียส)   เฉลี่ย/ป (%)
                                                        (มม./ป)     (มม./ป)
                                                                                 ชวง   เฉลี่ย   ชวง   เฉลี่ย
                   เหนือ            สุโขทัย           1,000-1,300  1,560-1,590  22-33    28    57-93    78

                                    อุทัยธานี            900-1,000   1,620-1,660   23-33   28   55-90   74
                   ตะวันตก          กาญจนบุรี         1,000-1,600  1,600-1,660  22-37    28    52-89    74

                                    ประจวบคีรีขันธ   1,000-1,500  1,590-1,640  24-32    28    75-87    76
                                    เพชรบุรี            900-1,000   1,630-1,660   24-32   28   64-87    76

                                    ราชบุรี             900-1,000   1,630-1,670   24-32  28   60-90  76


                          1.2 วัตถุตนกําเนิดดิน : เกิดจากตะกอนที่น้ําพัดพามาทับถมคอนขางใหม(semi-recentalluvium)

                          1.3 ภูมิสัณฐาน : ตะพักลําน้ําคอนขางใหม(semi-recent terrace) สันริมน้ําเกา(old river levee)

                  และเนินตะกอนรูปพัด(alluvial fan)

                          1.4 สภาพพื้นที่และความลาดเท :  คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย คาความ

                  ลาดเท อยูระหวาง 1-3 เปอรเซ็นต


                          1.5 การระบายน้ําของดิน : ดีปานกลางถึงดี

                          1.6 พืชพรรณและการใชประโยชน : ปลูกพืชไร ไมผล และพืชผักตางๆ บางสวนยังเปนปา


                  เบญจพรรณ  สําหรับพื้นที่โครงการชลประทานในแตละจังหวัด ซึ่งพบกลุมชุดดินที่ 33 แสดงไวในตารางที่
                  33.2


                  ตารางที่ 33.2 พื้นที่โครงการชลประทาน และความจุของอางเก็บน้ําในจังหวัดที่พบกลุมชุดดินที่ 33

                                                             พื้นที่ชลประทาน   ความจุ   โครงการขนาด  โครงการ
                         ภาค         เขต      จังหวัด
                                                                                  3
                                                                  (ไร)     (ลาน ม. )  ใหญและกลาง  ขนาดเล็ก
                   กลาง               1       นครนายก           421,140       18.8         10          2

                                              ชัยนาท            900,567         0          7           5
                                              สระบุรี           315,250        5.5         9           5

                                              ลพบุรี            343,750       48.8         14         12
                                              นครปฐม           1,172,400        0          5           0
                                              อางทอง           210,000         0          1           0

                                              พระนครศรีอยุธยา  1,628,000        0          6           0
                                              สิงหบุรี         897,000         0          2           0

                                              สุพรรณบุรี       1,288,470     294.9         8           4
   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242